เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
เด็กไม่สนเรียนวิทย์แถมออกกลางคันเพียบ มธ. - สพฐ. - สสวท.เร่งผลิตบัณฑิตวิทย์
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
20 ม.ค. 59 16:13 น.
20 ม.ค. 59 16:13 น.
อ่านแล้ว
388
จำนวน
แชร์
มธ.จับมือ สพฐ.-สสวท.ผลิตบัณฑิตวิทยาศาสตร์ ขณะที่ “สมคิด”เผยปี 60 มธ.เปิดสาขาวิทยาศาสตร์ ศูนย์ลำปาง หวังขึ้นแท่นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ จากข้อมูล สสวท. ระบุว่าในแต่ละปีผลิตบุคลากรด้านวิทย์ ได้แค่ 8 คนต่อประชากร 10,000 คน
วันนี้(19 ม.ค.) ที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ได้มีการแถลงความร่วมมือยกระดับความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์สู่ 17 จังหวัดภาคเหนือ ระหว่างสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.)และ มธ. โดย ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อธิการบดี มธ. กล่าวว่า ขณะนี้ประเทศไทยกำลังประสบภาวการณ์ขาดแคลนบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญทางด้าน วิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศทุกด้าน โดยตลอด 81 ปีที่ผ่านมา มธ. ได้ช่วยพัฒนาและผลิตบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความรู้ ความสามารถ มีคุณภาพมาอย่างต่อเนื่อง และยังได้ร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ และนายบุญชู ตรีทอง อดีต รมว.ทบวงมหาวิทยาลัย และ รมช.คลัง ผลักดันให้คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ.ศูนย์ลำปาง เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ของภาคเหนือ และในปี 2560 จะเปิดสาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป เพื่อรองรับอุตสาหกรรมในพื้นที่ภาคเหนือที่ และเป็นฟันเฟืองสำคัญในการพัฒนารากฐานความเจริญของประเทศต่อไป
“จากข้อมูลของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) ในปี 2557 พบว่าสถาบันการศึกษาที่เปิดหลักสูตรการสอนในกลุ่มคณะวิทยาศาสตร์ มีจำนวน 139 แห่ง จากจำนวนสถาบันการศึกษาทั่วประเทศ 169 แห่ง ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนถึง 82% อีกทั้งจากข้อมูลของ สสวท. ระบุว่าในแต่ละปีสามารถผลิตบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ได้เพียง 8 คน ต่อประชากร 10,000 คน ในขณะที่สังคมยังคงมีความต้องการบุคลากรในด้านนี้สูงกว่า 10% ของจำนวนประชากรไทยในวัยแรงงาน”
ศ.ดร.สมคิด กล่าว ด้านรศ.ปกรณ์ เสริมสุข คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. กล่าวว่า ปัจจุบันมีผู้สมัครเข้าเรียนคณะวิทยาศาสตร์ทั่วประเทศน้อยลงมาก แต่ละปีมีผู้สนใจเข้าเรียน20 -27 % ของจำนวนรับ และพบว่า 20 % ไม่สามารถเรียนต่อได้ ต้องย้ายไปเรียนคณะอื่นหรือออกกลางคัน เช่น สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทย์ฯ มธ. ศูนย์ลำปาง รับนักศึกษา 30 คน มีเด็กมาสมัครเพียง 10 คน ขณะนี้เหลือเด็กเรียนอยู่เพียง 1 คน เป็นต้น หวังว่าการมอบทุนวิทยาศาสตร์ 17 จังหวัดภาคเหนือ จะเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่กระตุ้นให้เด็กสนใจเรียนวิทยาศาสตร์มากขึ้น โดยนายบุญชู จะให้ทุนปีละ 40 ทุน และเป็นทุนการศึกษาต่อเนื่อง หากเด็กเรียนแล้วผลการเรียนเฉลี่ยดีมากตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด พร้อมเปิดให้ทุนศึกษาต่อระดับปริญญาโทในสาขาวิชาที่สนใจด้วย
ที่มา
http://www.dailynews.co.th/education/374203
ภาพประกอบจาก-bornscientist.com
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
388
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
106
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
3K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
3K
เตรียมอุดมฯ ปรับวิธีคัดเด็กโควตาปี 60
5K
Dek รุ่นไหนก็มาร่วมงานนี้ได้ ! วางแผนเตรียมตัว สู่รั้วมหาวิทยาลัย (รับจำนวนจำกัด)
5K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
ยื่นพอร์ตปุ๊ป สัมภาษณ์ปั๊บ
สมัครออนไลน์ได้เลย!!!
จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?
พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
×
Close