เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
โครงการกำจัดขยะอวกาศของญี่ปุ่นจบลงด้วยความล้มเหลว
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
10 ธ.ค. 59 14:27 น.
10 ธ.ค. 59 14:27 น.
อ่านแล้ว
668
จำนวน
แชร์
พี่จ๋า AdmissionPremium
ล่าสุดเมื่อวันที่ 06 กุมภาพันธ์ 2560 ได้มีข่าวออกมาประกาศว่า โครงการกำจัดขยะอวกาศของญี่ปุ่นจบลงด้วยความล้มเหลว
JAXA หน่วยงานด้านอวกาศของญี่ปุ่นออกมายืนยันแล้วว่า โครงการทดลองกำจัดขยะอวกาศของพวกเขาไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง โดยยานขนส่ง Kounotori 6 เพิ่งเดินทางกลับสู่โลกและถูกเผาทำลายระหว่างเดินทางเข้าสู่ชั้นบรรยากาศเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา
ยาน Kounotori 6 ดังกล่าวถูกติดตั้งเชือกโลหะยาว 700 เมตร ซึ่งออกแบบมาเพื่อช่วยชะลอความเร็วของบรรดาขยะอวกาศ และดึงพวกมันกลับสู่โลกด้วยพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า แต่เกิดปัญหากลไกขัดข้อง และช่างเทคนิคก็ไม่สามารถแก้ไขได้ ทำให้ยานลำนี้ไม่สามารถปล่อยเชือกโลหะออกมา
นี่เป็นความล้มเหลวเป็นครั้งที่สองในระยะเวลาติดๆ กันของ JAXA หลังจากเมื่อเดือนที่ผ่านมาพวกเขาก็เพิ่งล้มเหลวในการส่งจรวด SS-520-4 ขึ้นสู่วงโคจรเมื่อเดือนที่ผ่านมา
แต่อย่างน้อยในความล้มเหลวล่าสุด ยาน Kounotori 6 ก็ยังสามารถส่งข้าวของเครื่องใช้ไปยังสถานีอวกาศนานาชาติได้
ขอขอบคุณข้อมูลจาก :
The MATTER
ญี่ปุ่นปล่อยยานโคอูโนโตริพร้อมจรวด H-IIB จากฐานยิงจรวดในเมืองทาเนกะชิมะ เมื่อวานนี้ (9 ธ.ค.) พร้อมนำเชือกลากไฟฟ้า ซึ่งทำจากอะลูมิเนียม-เหล็กกล้าความยาว 700 เมตร ที่สามารถเป็นพาหะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ขึ้นไปพร้อมกัน เชือกลากไฟฟ้านี้พัฒนาขึ้นโดยได้รับคำแนะนำจากบริษัทผลิตแหจับปลา จะไปชะลอการเคลื่อนตัวของขยะอวกาศและลากออกมาจากวงโคจร
นักวิทยาศาสตร์อธิบายว่ากระแสไฟฟ้าที่จ่ายผ่านเชือกลากไฟฟ้าขณะเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กโลก จะทำให้ขยะอวกาศเคลื่อนที่ช้าลง และถูกดึงลงมาอยู่ในวงโคจรที่ต่ำลง และเมื่อเข้าสู่ชั้นบรรยากาศโลกก็จะเกิดการเผาไหม้หมดสิ้นไปเป็นเวลานานก่อนที่จะมีโอกาสพุ่งเข้าชนพื้นผิวโลก อย่างไรก็ดี ผู้เชี่ยวชาญเชื่อว่าเชือกลากไฟฟ้าพลศาสตร์นี้จะช่วยกำจัดได้เฉพาะขยะที่มีขนาดใหญ่เท่านั้น
คาดกันว่ามีขยะอวกาศมากกว่า 100 ล้านชิ้นซึ่งรวมทั้งอุปกรณ์ เครื่องไม้เครื่องมือ และชิ้นส่วนจรวดที่ไม่ใช้แล้วล่องลอยอยู่ในวงโคจร โดยจำนวนมากเคลื่อนตัวอยู่รอบโลกด้วยความเร็วสูงถึง 28,000 กม.ต่อ ชม. และอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรงและสร้างความเสียหายต่อเครือข่ายสื่อสารที่อยู่ในวงโคจรได้
ขยะอวกาศสะสมอยู่ในอวกาศตลอดเวลา 50 ปี แห่งการปฏิบัติงานในอวกาศของมนุษย์ นับตั้งแต่สหภาพโซเวียต (ในขณะนั้น) ได้ปล่อยดาวเทียมสปุตนิกดาวเทียมดวงแรกของโลกขึ้นสู่ห้วงอวกาศในปี 2500
ขอขอบคุณข้อมูลจาก : BBC Thai
พี่จ๋า AdmissionPremium
ขยะอวกาศ
ยานโคอูโนโตริ
ญี่ปุ่นปล่อยยาน
จรวด H-IIB
ญี่ปุ่น
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
668
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
105
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
3K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
3K
เตรียมอุดมฯ ปรับวิธีคัดเด็กโควตาปี 60
5K
Dek รุ่นไหนก็มาร่วมงานนี้ได้ ! วางแผนเตรียมตัว สู่รั้วมหาวิทยาลัย (รับจำนวนจำกัด)
5K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
สาขาแนะนำ ตามคำเรียกร้อง
น่าเรียน มีที่ไหน เน้นอะไร มาดูกัน!!
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
ยื่นพอร์ตปุ๊ป สัมภาษณ์ปั๊บ
สมัครออนไลน์ได้เลย!!!
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
สถาบันไหน ?? จะครองใจ 2024
ร่วมโหวต!เลย..
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
×
Close