เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
กว่าจะได้ภาพ "คนหายหน้าเหมือน" เขาต้องทำอย่างไรกันบ้าง
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
31 ส.ค. 59 12:05 น.
31 ส.ค. 59 12:05 น.
อ่านแล้ว
607
จำนวน
แชร์
พี่จ๋า AdmissionPremium
จากแคมเปญ "คนหายหน้าเหมือน" ของมูลนิธิกระจกเงานั้น น้องจะเห็นว่า เป็นแคมเปญที่ช่วยให้เราได้จดจำใบหน้าของบุคคลที่สูญหายได้ง่ายมากขึ้น เพราะสมองส่วนหน้าของคนเรานั้น มักจะจำภาพที่เราคุ้นเคย
และ
จากการศึกษา ตามหลักวิทยาศาสตร์สมองคนเร
า
จะจดจำสิ่งใหม่ได้ดีจากสิ่ง
ที่คุ้นเคย
ยกตัวอย่างภาพได้ตามรูปด้านบนเลย (เหมือนมากใช่ไหมคะ ถ้าเราจดจำดาราได้ และหากเราไปเจอใครที่เหมือนดาราคนนั้นที่เราจำได้ เราก็จะจำพวกเขาที่สูญหายไปได้เช่นกัน) เป็นแคมเปญที่เจ๋งเลยทีเดียวค่ะ แต่ก่อนหน้านี้ น้องจะเคยได้ยินข่าวว่า ช่วงเวลาที่เด็กสูญหายนั้น เวลาผ่านไปพวกเขาเหล่านั้นได้เติบโตขึ้นเป็นวัยรุ่นหรือเป็นผู้ใหญ่กันแล้ว แล้วเราจะจำเขาเหล่านั้นได้ไง จึงเกิดการทำภาพจำลองเทียบเท่าอาายุปัจจุบันของเด็กที่สูญหายขึ้น ทางศูนย์ข้อมูลคนหาย มูลนิธิกระจกเงา เขาได้ภาพเหล่านี้มาได้ไง ไปพบคำตอบกันค่ะ
โปรแกรม
Age Progression
คือการทำภาพจำลองเทียบเท่าอายุปัจจุบันของเด็กหาย โดยที่ศูนย์เด็กหายของอเมริกา จะมีแผนกนี้โดยตรง
ภาพเด็กหายอายุต่ำกว่า 18 ปี ที่ยังหาไม่เจอ จะมีการทำภาพจำลองเทียบเท่าอายุปัจจุบันทุกๆ 2 ปี และถ้าอายุเกิน 18 ปีแล้ว จะทำภาพจำลองทุกๆ 5 ปี
ภาพจำลองแต่ละเคสใช้เวลาทำประมาณ 8 ชั่วโมง โดยเทียบภาพโครงสร้างใบหน้าของคนในครอบครัวเป็นสำคัญ
กระบวนการไม่เหมือนในหนังที่กดปุ่มเดียวแล้วเป็นภาพจำลองได้เลย เพราะของจริงใช้การวาดจากโปรแกรม Adobe Photoshop
จากประสบการณ์ของเจ้าหน้าที่ ในการวิเคราะห์เค้าโครงหน้าคนครอบครัวเด็กหายในเมืองไทยมีตำรวจที่วาดแบบนี้ได้คือ พันตำรวจเอกชัยวัฒน์ บูรณะ ผู้กำกับการกองทะเบียนประวัติอาชญากร ซึ่งทำหน้าที่สเกตซ์ภาพคนร้ายคดีสำคัญๆ
ซึ่งผู้กำกับชัยวัฒน์ วาดภาพจำลองเทียบเท่าอายุปัจจุบันของเด็กหายมาแล้ว 3 คน และผู้กำกับยังเคยบอกกับศูนย์ข้อมูลคนหาย มูลนิธิกระจกเงาว่า "
มันไม่มีโปรแกรมทำภาพจำลองหรอก เพราะนี่มันคืองานอาร์ต"
คณะ/สาขาที่เกี่ยวข้องกับการทำ
Age Progression
1. สาขาเทคโนเลยีสารสนเทศ ( ความรู้ด้านการทำ
Adobe Photoshop หรือการพัฒนาเครื่องมือทางคอมพิวเตอร์)
2. สาขาทางด้านวิทยาศาสตร์ ( ความรู้ทางด้านกายวิภาค เป็นต้น )
3. สาขาทางด้านศิลปกรรม
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมแต่ละสาขา
คลิกที่นี่
ขอขอบคุณข้อมูลจาก
ศุนย์ข้อมูลคนหาย มูลนิธิกระจกเงา
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
607
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
คาดการณ์ข่าวและเหตุการณ์สำคัญสำหรับการสอบ A-Level สังคมศึกษา 2568
1K
A-Level อังกฤษทำแต่ละพาร์ทควรใช้เวลาเท่าไหร่? แบ่งเวลาแบบไหนให้ทำทันทุกข้อ? กับ A-Level ภาษาอังกฤษ TCAS68
1K
เรียนวิศวะ AI อินเตอร์พร้อมสกิลการสร้างธุรกิจ ที่แรกที่เดียวในไทย!
2K
คณะที่ต้องการในอนาคต ! ม.สยามเสิร์ฟแบบจัดเต็ม! เปิดรับ TCAS68 "คณะทัศนมาตรศาสตร์" รอบรับตรง 40 ที่นั่ง สมัครตั้งแต่วันนี้- 13 มี.ค.68 !
2K
“เจาะลึก TPAT1 กสพท68 ! ข้อควรระวังในแต่ละพาร์ทที่ช่วยให้ DEK68 สอบผ่านอย่างมั่นใจ”
4K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
อยากเรียน ม.รัฐ ไหนมากที่สุด
Top 10 ม.รัฐยอดนิยม ปี 2024
จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?
พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
10 อันดับ ม.ราชภัฏ
ที่เด็กไทยอยากเรียนมากที่สุด ปี 2024
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
×
Close