เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
จบสายสังคมว่างงานพุ่ง ตอกย้ำแผนผลิตแรงงานเหลว
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
21 ก.ค. 59 13:13 น.
21 ก.ค. 59 13:13 น.
อ่านแล้ว
488
จำนวน
แชร์
P'Biw AdmissionPremium
ขณะที่
ตัวเลขบัณฑิตจบใหม่
จากมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ มีชะตาต้องเตะฝุ่น
ว่างงานจนเป็นตัวเลขที่สูงและเพิ่มขึ้นทุกปี
ในจำนวนดังกล่าวถูกระบุด้วยว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่เรียนในสายสังคมศาสตร์ พวกเขาต้องตกงานเพราะเลือกเรียนในสายที่ไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานในประเทศ ขณะที่สายวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นที่ต้องการมากกว่า กลับมีผู้เลือกเรียนน้อยกว่าในอัตราเฉลี่ย 70/30%
ปัญหาดังกล่าวทำให้ รมว.ศึกษาธิการ เตรียมใช้คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 39/2559 เรื่องการจัดระเบียบและแก้ไขปัญหาธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษาให้จำกัดจำนวนการผลิตนักศึกษาบางสาขาวิชาลง เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการ
“เบื้องต้นจะพิจารณาสายที่มีปัญหาก่อน อาทิ ครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ส่วนสายบริหาร รัฐประศาสนศาสตร์ และนิเทศศาสตร์ คงต้องประเมินต่อไป ขณะนี้อยู่ระหว่างรวบรวมข้อมูลเพื่อวางแนวทางปรับเปลี่ยนเรื่องการผลิตบัณฑิตจบใหม่ คาดว่าภายในปี 2560 จะสามารถส่งสัญญาณให้นักเรียนพิจารณาได้ว่า ควรเลือกเรียนสายใดที่เหมาะสมกับตลาดแรงงาน” นพ.กำจร กล่าว
ยงยุทธ แฉล้มวงษ์
ผู้อำนวยการวิจัยการพัฒนาแรงงานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) สะท้อนปัญหานี้ว่า มาจากหลากหลายปัจจัย เริ่มจากที่ผ่านมา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของประเทศฉบับต่างๆ ซึ่งมีแผนกำหนดทิศทางการเติบโตของประเทศระบุไว้ชัดเจน ไม่สอดคล้องกับแผนด้านการพัฒนาการศึกษา แม้จะมีการพูดถึงมุมมองเรื่องนี้อยู่บ้าง แต่สิ่งที่สื่อสารต่อมายังหน่วยงานปฏิบัติ ก็ดำเนินการต่อในรูปแบบของการรับไปสานต่อแบบอ้างแผนถึงพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ โดยไม่ได้พิจารณาถึงเนื้อหาของทิศทางจริงๆ ประกอบกับทุก 5 ปี จะต้องเขียนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมใหม่ การศึกษาจึงปรับตัวแทบจะไม่ทันกับรอบของการเปลี่ยนแปลง
ผู้อำนวยการด้านการพัฒนาแรงงาน ทีดีอาร์ไอ ระบุอีกว่า แผนหลักซึ่งต้องนิ่ง เป็นแผนระยะยาว 25 ปีขึ้นไป แบบเดียวกับที่ประเทศต่างๆ อย่างญี่ปุ่น ไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซีย เคยทำ แต่เมื่อทั้งสองส่วนไม่สอดรับกันจนสามารถนำไปเป็นแผนยุทธศาสตร์หลักได้ ประเทศก็เหมือนปรับนโยบายการศึกษาในเชิงตั้งรับ ที่หนักกว่านั้น คือ รัฐบาลบางช่วงไม่ได้สนใจแผนพัฒนาชาติ สนใจแต่แผนของพรรคซึ่งอาจไม่ตรงกับแผนชาติ กระทั่ง สภาการศึกษาซึ่งควรจะเป็นมันสมองและกำหนดทิศทางให้กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ไม่สามารถเป็นเสาหลักได้เพราะไม่มีใครฟังใคร เรื่องการเตรียมกำลังคนให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศจึงได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ยงยุทธ กล่าวว่า การเปิดสอนก็ไม่ได้วัดผลที่ผลลัพธ์เด็กได้ หรือว่าจบไปแล้วจะมีงานทำหรือไม่ แม้จะมีการลงทุนเรื่องการศึกษาสูง แต่เมื่อการสอนในระดับพื้นฐานเตรียมการศึกษาก่อนวัยทำงานล้มเหลวก็ไม่ได้กำหนดความรับผิดชอบอะไร
"
สิ่งที่ปรากฏชัดเจนว่าทั้งสองแผนไม่ไปในทิศทางเดียวกัน
คือ
ปัจจุบันภาคอุตสาหกรรมยังคงต้องการแรงงานระดับล่างแต่รัฐผลิตคนที่มีการศึกษาสูงเพิ่มขึ้นทุกปี
มีการสนับสนุนด้านเงินกู้ยืมเรียน อย่างไม่มีเงื่อนไขกำกับชัดเจน เพิ่มมีการกำหนดเมื่อไม่นานมานี้ เรื่องนี้สร้างตราบาปให้คนที่เรียนจบแล้วไม่มีเงินใช้หนี้มาถึงปัจจุบัน ตกงานด้วยค่านิยม มีใบปริญญาโดยไม่คำนึงถึงการมีงานทำ" ยงยุทธ กล่าว
เกรียติอนันต์ ล้วนแก้ว คณะบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มองปัญหานี้ว่า กรณีมหาวิทยาลัยไม่ได้วางแผนผลิตคนที่ตลาดแรงงานต้องการ เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นมานาน และแม้ปัจจุบันหลายแห่งต้องการจะขยายสายวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาด ก็ทำได้ซ้ำหรือมีข้อจำกัดหลายด้าน เพราะเป็นสายที่ต้องลงทุนสูง หาผู้สอนยากจึงเน้นสายสังคมซึ่งลงทุนน้อยกว่าและมีผู้สอนให้เลือกมากกว่า
"หลายประเทศเคยประสบปัญหาเรื่องการผลิตคนไม่ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน อเมริกา เยอรมนี ใช้วิธีแก้ปัญหาโดยส่งข้อมูลเรื่องนี้ให้ประชาชนรับรู้ตลอดเวลา จัดระบบแนะแนวในโรงเรียน คอยบอกว่า สถานการณ์ตลาดแรงงานเป็นอย่างไรอย่างละเอียด สร้างวัฒนธรรมเรื่องการเรียนตามความต้องการตลาดจริงๆ ขึ้น อเมริกานั้นถึงกับบอกอย่างละเอียดว่าเรียนจะจบสาขาเงินเดือนเริ่มต้นเท่าไหร่ จบทำงานสิบปีได้เงินเท่าไหร่ เรียนจบแล้วเฉลี่ยต้องการว่างงานกี่เดือน ข้อมูลเหล่านี้จำได้ทำให้คนได้คิดว่า เลือกเรียนอะไรแล้วจะต้องยอมรับผลอะไรที่ตามมา
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบัน ผู้ปกครองไทยยังไม่รู้เลยว่า สายอาชีพบางสาขา เงินเดือนสูงกว่าปริญญาตรี มีการจองตัวเข้าทำงานตั้งแต่ยังเรียนไม่จบ เราแทบไม่มีบริการเรื่องนี้เลย ขณะที่ข้อมูลว่าเรียนที่ไหนตกงานเท่าไหร่ ก็ไม่มีเปิดเผย เพราะมหาวิทยาลัยกลัวถูกตีความเรื่องคุณภาพการสอน" คณะบดีเศรษฐศาสตร์ กล่าว
ขอขอบคุณข้อมูลจาก :
โพสต์ทูเดย์
P'Biw AdmissionPremium
คณะสังคมศาสตร์ม
สังคมฯ
ข่าว
เด็กไทยเรียนจบ ว่างงาน
ข่าว
การศึกษา
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
488
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
“เจาะลึก TPAT1 กสพท68 ! ข้อควรระวังในแต่ละพาร์ทที่ช่วยให้ DEK68 สอบผ่านอย่างมั่นใจ”
1K
ภาคปกติหรือพิเศษ? ค่าเทอม คณะนิติศาสตร์ จาก 12 มหาลัยดัง
1K
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
3K
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
6K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
5K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
สถาบันไหน ?? จะครองใจ 2024
ร่วมโหวต!เลย..
สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง
ชวนน้อง ม.ปลาย เรียน ป.ตรี ล่วงหน้า Pre-degree รับสมัครวันนี้ - 17 พ.ย. 2567
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
สาขาแนะนำ ตามคำเรียกร้อง
น่าเรียน มีที่ไหน เน้นอะไร มาดูกัน!!
×
Close