เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
หน้ารวม
ธุรกิจ
วิทยาศาสตร์
ไอที
เทคโนโลยี
ภาษา
การเงิน
เรียนต่อ
การพัฒนาตนเอง
อาหาร
สุขภาพ
ความงาม
กีฬา
ดนตรี เพลง
ศิลปะ
แต่งบ้าน แต่งสวน
เลี้ยงลูก
สัตว์
สิ่งแวดล้อม
การเกษตร
ประวัติศาสตร์
ศาสนา
สังคมและวัฒนธรรม
กฎหมาย
ธรรมะ
Previous
Next
Previous
Next
หน้าแรก
คลังความรู้
การพัฒนาตนเอง
เบื้องหลังเสียงไซเรน 'ฮีโร่บนรถกู้ชีพ'! มารู้จักกับ 'นักปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน' ! ให้มากขึ้น เรียนอะไร จบไปทำอะไร?
วันที่เวลาโพส
05 เมษายน 67 15:48 น.
อ่านแล้ว
0
จำนวนแชร์
0
พี่กบ AdmissionPremium
เบื้องหลังเสียงไซเรน 'ฮีโร่บนรถกู้ชีพ'! มารู้จักกับ 'นักปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน' ! ให้มากขึ้น เรียนอะไร จบไปทำอะไร? มาติดตามไปพร้อมกัน
สวัสดีน้องๆทุกคน! เคยสงสัยไหมว่าเบื้องหลังการช่วยชีวิตด้วยความรวดเร็วของทีมแพทย์ฉุกเฉินนั้นมีอะไรบ้าง? วันนี้เราจะพาไปเจาะลึกถึงหลักสูตรของ 'นักปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน' กัน จะได้รู้ว่าพวกเขาเรียนอะไร และเมื่อจบไปแล้วจะก้าวเข้าสู่บทบาทอะไรในวงการสุขภาพ เตรียมตัวให้พร้อมแล้วมาดูกันเลยว่าคณะนี้มีอะไรบ้างที่เราอาจไม่เคยรู้มาก่อน! ไปกันต่อออ
นักปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน
คืออะไร
?
นักฉุกเฉินการแพทย์" (Paramedic) จะปฏิบัติงานอยู่ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ทำหน้าที่ออกไปกับรถพยาบาล เพื่อช่วยเหลือและดูแลรักษานอกโรงพยาบาล หรืออาจจะปฏิบัติงานในห้องอุบัติเหตุ ห้อง ฉุกเฉิน หรือปฏิบัติงานเป็นผู้จ่ายงานปฏิบัติการฉุกเฉิน (EDM) ในศูนย์รับแจ้งเหตุต่างๆ ของสถานพยาบาล
นักปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน
เรียนเกี่ยวกับอะไร
?
เน้นการเรียนด้านการช่วยเหลือคนไข้หรือผู้ที่ได้รับการบาดเจ็บ เช่น การให้น้ำเกลือ การใช้ท่อช่วยหายใจ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย การดูแลคนไข้บนรถพยาบาลฉุกเฉินจนถึงโรงพยาบาล
คุณสมบัติของคนที่อยากทำอาชีพนี้
เหมาะกับคนที่มีความละเอียดรอบคอบ
สามารถรับมือ และแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติ และไม่ประมาท
เข้าใจปัญหา และความเจ็บปวดของผู้อื่น
สามารถสื่อสารได้ถูกต้องชัดเจน
เรียนกี่ปี ต้องเรียนจบสายอะไร
4 ปี (สายวิทย์ – คณิต)
จบมาทำอาชีพอะไร
ทำงานในห้องฉุกเฉิน
เช่น พยาบาลและเวชกิจ ทำหน้าที่ชักประวัติเบื้องต้น วัดชีพจร ความดัน แล้วรายงานแพทย์ เป็นต้น
งานนอกห้องฉุกเฉิน
เช่น ไปรับคนไข้ฉุกเฉิน คนไข้โดนรถชนทำงานร่วมกับแพทย์และพยาบาล
แพทย์แผนกฉุกเฉิน
แพทย์ผู้ทำงานในแผนกฉุกเฉินและบางครั้งก็ต้องประจำรถพยาบาลฉุกเฉินเพื่อไปช่วยผู้ป่วย ณ ที่เกิดเหตุให้ทันเวลาด้วย เรียกได้ว่าต้องทั้งเก่ง ไว และมีสติในทุกสถานการณ์ เพราะต้องคัดกรองวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้องและตัดสินใจในการรักษาเบื้องต้นอย่างเร่งด้วยเพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยให้ผลจากขั้นวิกฤติ แล้วจึงประสานงานกับแพทย์เฉพาะทางอื่น ๆ ต่อไป ซึ่งหากน้อง ๆ สนใจอาชีพนี้ ต้องเริ่มจากเรียนสายวิทย์-คณิต เรียนแพทย์ 6 ปี จนได้รับปริญญาด้านแพทยศาสตรบัณฑิต แล้วจึงเรียนต่อเฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์ฉุกเฉินอีก 3 ปี เพื่อเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
นักปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์
นอกจากจะถึงผู้ป่วยเป็นรายแรกพอ ๆ กับแพทย์แล้ว ยังต้องพกความรู้ความสามารถในการปฏิบัติการด้านการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูงและการกู้ชีพติดตัวไปด้วย แม้จะดูแล้วจะใกล้เคียงหมอก็ไม่ใช่ จะเป็นพยาบาลก็ไม่เชิง แต่หน้าที่ของพวกเขาเรียกได้ว่ามีความสำคัญมากในทีมแพทย์ฉุกเฉิน เพราะต้องมีพื้นฐานการทำหัตถการทางการแพทย์ รักษาผู้ป่วยโดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ในภาวะฉุกเฉินที่ส่งผลต่อชีวิต เพื่อให้ผู้ป่วยอาการดีขึ้นก่อนจะส่งเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เรียกได้ว่าได้ช่วยคนไข้ในช่วงนาทีชีวิตเลยทีเดียว
พนักงานฉุกเฉินการแพทย์
คนสำคัญอีกคนที่ขาดไม่ได้บนรถพยาบาลไซเรน EMT นอกจากจะขับรถได้ไวและปลอดภัยแล้ว ยังต้องมีพื้นฐานในการปฐมพยาบาลและกู้ชีพขั้นต้นได้ สามารถช่วยเหลือ แพทย์ พยาบาล หรือ paramedic ในการหยิบจับ จัดเตรียมอุปกรณ์ได้ รวมทั้งยกเปลและตรวจสอบเครื่องมือบนรถต่าง ๆ ด้วย โดย EMT นั้นต้องผ่านการอบรม ไม่ต่ำกว่า 115 ชั่วโมง เพื่อให้ได้ประกาศนียบัตรรับรอง โดยจะมีการอบรมตามสถาบันที่เกี่ยวข้องด้านการแพทย์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลประจำจังหวัด หรือโรงพยาบาลศูนย์ เป็นต้น หากต้องการศึกษาต่อจะมีการเรียนในระดับ AEMT (Advanced Emergency Medical Technician) คือ สาขาวิชาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ (ปวส.ฉพ.) หลักสูตร 2 ปี โดยรับผู้จบมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า โดยสถาบันที่เปิดรับสมัคร
ทีมช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ
เจ้าหน้าที่เวชกิจฉุกเฉินระดับกลาง หรือเจ้าหน้าที่กู้ชีพเป็นหลักสูตรเทียบเท่า EMT-Intermediate ของสหรัฐอเมริกา และเจ้าหน้าเคลื่อนย้ายผู้ป่วยต้องผ่านหลักสูตรเวชกรฉุกเฉินระดับตัน (EMT-B)
ทีมพยาบาลวิชาชีพเฉพาะทางการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน
ที่ผ่านการอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูง (ACLS) และมีประสบการณ์การช่วยชีวิต
ทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
เช่น แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน, สูตินรีแพทย์, วิสัญญีแพทย์, รังสีแพทย์วินิจฉัย ฯลฯ
ปี 1-4 เรียนอะไรบ้าง ?
ปี 1-2
จะได้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปอย่าง คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เคมีทั่วไป ชีววิทยา พื้นฐานเภสัช เวชศาสตร์ระดับเซลล์ ซึ่งในหมวดที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ และยังต้องเรียนรายวิชาพื้นฐานทางวิชาชีพ เช่น กายวิภาคศาสตร์พื้นฐาน การซักประวัติและตรวจร่างกาย ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
ปีที่ 3
จะเป็นการเรียนในกลุ่มวิชาชีพโดยตรง เรียนเรื่องการดูแลผู้ป่วยและผู้บาดเจ็บฉุกเฉิน, การช่วยฟื้นคืนชีพ, หัตถการทางการแพทย์, การแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และนิติเวชศาสตร์ เป็นต้น
ปีที่ 4
น้องๆ จะได้ฝึกปฏิบัติงานจริง อย่างการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินในที่สาธารณะ ไปจนถึงการฝึกปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ในโรงพยาบาล
มหาวิทยาลัยที่เปิดสอน
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
อ่านประกาศที่นี่ :
https://www.rama.mahidol.ac.th/er/th/education/RamaMedic
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่
อ่านประกาศที่นี่ :
https://course.mytcas.com/programs/10100103111601A
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
อ่านประกาศที่นี่ :
https://course.mytcas.com/programs/10210115111601A
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
อ่านประกาศที่นี่ :
https://course.mytcas.com/programs/10270105111601A
คณะเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์สุขภาพ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
อ่านประกาศที่นี่ :
https://course.mytcas.com/programs/10320103111603A
แพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
อ่านประกาศที่นี่ :
https://course.mytcas.com/programs/12160101111603A
คณะสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
อ่านประกาศที่นี่ :
https://course.mytcas.com/programs/52210302111605A?major=A
คะแนนที่ใช้ (ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่กำหนดของแต่มหาวิทยาลัย)
GPAX
TGAT / TPAT1, TPAT3
A-level 7 วิชา (คณิตศาสตร์ 1, ฟิสิกส์, เคมี,ชีววิทยา,ภาษาอังกฤษ,ภาษาไทย, สังคมศึกษา) รวมไปถึง มีวิชาเฉพาะที่ทางมหาวิทยาลัยจัดสอบด้วย
เช็คหลักสูตรอื่นๆเพิ่มเติมได้ที่นี่ :
https://course.mytcas.com/
0
0
0
SHARES
VIEWS
3,445
คนอื่นๆอ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
รวม AI ตัวเทพ! ทำวิดีโอระดับมือโปร ง่ายในคลิกเดียว
ฝันให้ไกล…ไปเรียนวิศวะไกลถึงต่างแดน!
พัฒนาตัวเองให้ไวกว่าเดิม x2 ด้วยวิธีคิดแบบโปร
ทำไมบางคนเรียนไม่เก่ง...แต่เข้าใจโลกมากกว่าเรา?
สายอาชีพ & ทักษะช่าง กลับมาเท่
หมวด
ธุรกิจ
วิทยาศาสตร์
ไอที
เทคโนโลยี
ภาษา
การเงิน
เรียนต่อ
การพัฒนาตนเอง
อาหาร
สุขภาพ
ความงาม
กีฬา
ดนตรี เพลง
ศิลปะ
แต่งบ้าน แต่งสวน
เลี้ยงลูก
สัตว์
สิ่งแวดล้อม
การเกษตร
ประวัติศาสตร์
ศาสนา
สังคมและวัฒนธรรม
กฎหมาย
ธรรมะ
รู้จัก สจล.
11 คณะ 5 วิทยาลัย
TCAS รอบ2 โควต้า สจล.
มีสาขาไหนเปิดโครงการอะไรบ้าง? มาดูเลย
KMITL Curriculum ว่าที่ลูก สจล. มาทางนี้ เตรียมพร้อมสำหรับโอกาสในโลกแห่งอนาคต
ค้นหาอนาคต ผ่านการเรียนรู้ อย่างไม่สิ้นสุด
Top 10 ม.เอกชน ในใจเด็กไทยยุค AI กับผลโหวตในปี 2024
เพื่อสะท้อนความคิดเห็นนักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วประเทศ
ยังไม่มีที่เรียนใช่ไหม ..
TNI เปิดTNI เปิด
อยากเรียน ม.รัฐ ไหนมากที่สุด
Top 10 ม.รัฐยอดนิยม ปี 2024
สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง
ชวนน้อง ม.ปลาย เรียน ป.ตรี ล่วงหน้า Pre-degree รับสมัครวันนี้ - 17 พ.ย. 2567
เจาะลึกหลักสูตรโดดเด่นของ สจล.
โอกาส ตลาดงาน จบไปทำไรได้บ้าง
คอร์สเรียนฟรี!! ใช้ได้ในชีวิตจริง
สำหรับผู้สนใจ (ไม่มีค่าใช้จ่าย)
มาร่วมโหวตมหาลัยที่คุณคิดว่า ‘ใช่’ ที่สุดในยุคนี้
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
หลักสูตรน่าเรียน U-Recommend 2025
ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงด้วย AI
10 อันดับ ม.ราชภัฏ
ที่เด็กไทยอยากเรียนมากที่สุด ปี 2024
กรุณา Login ก่อน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าสู่ระบบ
×
Close