เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
ผลวิจัยชี้พ่อแม่ยอมเป็นหนี้ดันลูกเรียนต่อมหา’ลัย
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
29 เม.ย. 59 05:53 น.
29 เม.ย. 59 05:53 น.
อ่านแล้ว
387
จำนวน
แชร์
“สมพงษ์” เปิดผลวิจัยพบ พ่อแม่ต้องใช้เงินลงทุนดันลูกเข้ามหา’ลัย คนละกว่า 6 หมื่นบาท ชี้ค่าเรียนกวดวิชาเกือบ 2 หมื่น เผยยอมลงทุนกู้ยืมเงินหนุนให้ลูกเรียน แนะตั้งกองทุนช่วยเหลือเด็กจน เปิดโอกาสทางการศึกษา
วันนี้ (28 เม.ย.) ที่สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ อาจารย์คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดผลสำรวจเรื่อง “ต้นทุนชีวิตเยาวชนต่อการสอบเข้าอุดมศึกษาไทย”ว่า จากการสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนชั้น ม.ปลาย และผู้ปกครอง พื้นที่กรุงเทพฯ และ 4 จังหวัดหัวเมืองใหญ่ รวม 2,075 คน เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อศึกษาต่ออุดมศึกษา สำรวจเมื่อเดือนมีนาคม-เมษายน 2559 พบว่า นักเรียนชั้น ม.ปลาย 60% เรียนพิเศษ ส่วนใหญ่เป็นผู้มีรายได้ปานกลาง และค่อนข้างมีฐานะ โดยเด็กลงเรียนกวดวิชาเฉลี่ย 2-3 วิชาต่อปีการศึกษา สูงสุด 7 วิชา ต่ำสุด 1 วิชา มีค่าใช้จ่ายจากการเรียนพิเศษตลอดช่วงชั้น ม.ปลาย เฉลี่ยคนละ 19,748.43 บาท ทั้งนี้สาเหตุที่ต้องเรียนพิเศษคือ อยากได้เทคนิคการทำข้อสอบ-ได้เกรดดีๆ เพื่อเรียนต่อ 36% และเรียนที่โรงเรียนไม่เข้าใจ/ไม่รู้เรื่อง 33%
“เมื่อดูรายจ่ายตลอดการเรียนชั้น ม.4-6 ซึ่งเป็นการลงทุนเพื่อศึกษาต่ออุดมศึกษา พบว่า เฉลี่ยอยู่ที่คนละ 61,199 บาท คิดเป็น 6% ของรายได้ในครัวเรือน อาทิ รายจ่ายในโรงเรียน(ค่าเทอม/ค่ารถ/ค่าอาหารกลางวัน) 17,823 บาท รายจ่ายในการเรียนพิเศษ (ค่าเรียนพิเศษ/ค่ารถ/ค่าที่พัก) 22,592 บาท รายจ่ายในการสมัครสอบ (ค่าสมัครสอบ/ค่ามัดจำเพื่อรักษาสิทธิ์/ค่ารถ/ค่าที่พัก) 20,040 บาท นอกจากนี้ยังพบว่าค่ามัดจำเพื่อรักษาสิทธิ์เฉลี่ยอยู่ที่ 10,610 บาท โดยมีการจ่ายเงินค่ามัดจำสูงถึง 91,000 บาท ขณะที่ความพร้อมของผู้ปกครองในการสนับสนุนค่าใช้จ่าย พบว่า ไม่ว่าผู้ปกครองจะฐานะใดล้วนมีความพร้อมที่จะสนับสนุนเพื่อให้บุตรหลานได้เรียนต่ออุดมศึกษา แม้ว่าจะต้องไปกู้ยืมเงินมาก็ตาม โดยพบสัดส่วนการกู้ยืมเงินเพื่อสนับสนุนการศึกษาในครัวเรือนยากจน 52% ฐานะปานกลาง 27% และค่อนข้างมีฐานะ 19% ทั้งนี้ผมมองว่าควรตั้งกองทุนช่วยเหลือเด็กม.ปลายที่ขาดแคลนทุนทรัพย์เกี่ยวกับรายจ่ายการเข้ามหาวิทยาลัย เพื่อให้เด็กได้รับโอกาสทางการศึกษามากขึ้น”
ศ.ดร.สมพงษ์ กล่าว ศ.ดร.สมพงษ์ กล่าวต่อไปว่า ส่วนการสอบเข้าสถาบันอุดมศึกษานั้น พบว่า เด็ก ม.6 ต้องสอบเฉลี่ย 6-7 สนาม โดยนักเรียน 64% สะท้อนว่า การรับตรงของมหาวิทยาลัยทำให้เกิดความไม่เท่าเทียมกัน ส่วนความคิดเห็นต่อการแอดมิชชั่น พบว่า มีการทดสอบมากเกินไป 71% ข้อสอบยากเกินไปไม่เหมาะสมกับเนื้อหาที่โรงเรียนสอน 57% และค่าสมัครสอบแพงมาก 35% ทั้งนี้เด็กอยากให้ลดจำนวนการสอบลง สอนในสิ่งที่สอบเข้ามหาวิทยาลัย ปรับปรุงคุณภาพครูเพื่อลดการกวดวิชา ขณะที่ผู้ปกครองอยากให้รัฐควบคุมค่าสมัครสอบ เพื่อลดค่าใช้จ่าย อย่างไรก็ตามในเร็วๆ นี้ ตนจะนำผลวิจัยดังกล่าวเสนอ รมว.ศึกษาธิการ เพื่อพิจารณาต่อไป.
ที่มา : เดลินิวส์
ผลวิจัยชี้พ่อแม่ยอมเป็นหนี้ดันลูกเรียนต่อมหา’ลัย
ศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ
ต้นทุนชีวิตเยาวชน
การสอบเข้า
อุดมศึกษาไทย
ยืมเงิน
ส่งลูกเรียน
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
387
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
“เจาะลึก TPAT1 กสพท68 ! ข้อควรระวังในแต่ละพาร์ทที่ช่วยให้ DEK68 สอบผ่านอย่างมั่นใจ”
392
ภาคปกติหรือพิเศษ? ค่าเทอม คณะนิติศาสตร์ จาก 12 มหาลัยดัง
546
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
1K
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
5K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
4K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
สาขาแนะนำ ตามคำเรียกร้อง
น่าเรียน มีที่ไหน เน้นอะไร มาดูกัน!!
TNI เปิดรับสมัคร
พร้อมชิงทุนสูงสุด 100%
จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?
พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
×
Close