เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
จุฬาฯ เปิด 3 ผลงานวิจัยรีไซเคิล ในอุตสาหกรรมยาง
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
23 มี.ค. 59 10:48 น.
23 มี.ค. 59 10:48 น.
อ่านแล้ว
1,156
จำนวน
แชร์
นักวิจัย จุฬาฯ ประสบความสำเร็จนำกระดองปลาหมึกมาใช้เป็นสารเสริมแรงชนิดใหม่สำหรับยางธรรมชาติ เพิ่มประสิทธิภาพใช้งานด้านอุตสาหกรรมและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
รองศาสตราจารย์ ดร. ศิริลักษณ์ พุ่มประดับ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า งานวิจัยกระบวนการพัฒนาและปรับปรุงคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองต่อการนำไปใช้งานในอุตสาหกรรมและเป็นมิตรต่อสิงแวดล้อมนี้ มุ่งศึกษาและปรับปรุงสมบัติเชิงกล เชิงความร้อน และเชิงพลวัตของยางธรรมชาติให้สามารถผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่สอบสนองต่อการนำไปใช้งานในภาคอุตสาหกรรมได้ โดยแบ่งหัวข้องานวิจัยออกเป็น 3 หัวข้อ ดังนี้
1. การหาสารเสริมแรงชนิดใหม่มาทดแทนสารเสริมแรงชนิดดั้งเดิม งานวิจัยนี้ถือเป็นงานวิจัยชิ้นแรกที่นำกระดองปลาหมึกซึ่งมีแคลเซียมคาร์บอเนตสูงถึง90% มาใช้เป็นสารเสริมแรงชนิดใหม่สำหรับยางธรรมชาติทดแทนการใช้แคลเซียมคาร์บอเนตที่มีขายในอุตสาหกรรมที่มาจากการระเบิดภูเขา หรือเตรียมขึ้นมาจากกระบวนการทางเคมีเป็นการเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติหรือจากภาคอุตสาหกรรมอาหารทะเล เป็นกระบวนการกำจัดขยะทางทะเลที่มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเพิ่มรายได้ ให้แก่ชาวประมงนอกจากนี้ข้อดีของการนำวัสดุที่เหลือใช้จากธรรมชาติมาใช้เป็นสารเสริมแรงนั้น คือ ราคาถูก น้ำหนักเบา และที่สำคัญคือสามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ
2. การผลิตวัสดุสีเขียว (Green materials) พอลิเมอร์ที่มีการหดตัวได้ดีเยี่ยมเมื่อได้รับความร้อน คือ ยางธรรมชาติ ดังนั้นในงานวิจัยนี้ได้นำยางธรรมชาติมาผสมคู่กับพอลิเอทีลีนชนิดความหนาแน่นต่ำเพื่อให้ฟิล์มหดที่ได้มีความยืดหยุ่นและหดตัวได้ดีขึ้น หรือการปรับปรุงสมบัติของพลลิแล็กติกแอชิดให้มีความยืดหยุ่น ทนต่อความร้อนได้สูง โดยการผสมร่วมกับยางธรรมชาติและตัวประสาน เป็นการเพิ่มมูลค่าของยางพาราลดการพึ่งพิงการใช้ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเพียงอย่างเดียว และยังสามารถพัฒนาวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติเนื่องจากยางธรรมชาติที่ใช้ไม่ได้ผ่านการคงรูปไม่มีการใช้สารเคมีการมีองค์ประกอบของโปรตีนในน้ำยางสามารถทำหน้าที่เป็นเอนไซม์ในการย่อยสลาย เพื่อผลิตวัสดุสีเขียวที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
3.การนำกลับมาใช้ใหม่ของยางธรรมชาติที่หมดอายุการใช้งานแล้ว ศึกษากระบวนการสลายพันธะกำมะถันในยางธรรมชาติที่ผ่านกระบวนการวัลคาไนเซชัน โดยใช้กระบวนการเชิงกลร่วมกับการเติมสารเคมีเพื่อนำยางที่ใช้แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ได้ กระบวนการดังกล่าวเป็นกระบวนการที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน ต้นทุนสารเคมีมีราคาถูก ง่ายต่อการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมที่มีกำลังการผลิตสูงได้ องค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยนี้สามารถถูกนำไปพัฒนากระบวนการสลายพันธะกำมะถันที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ซึ่งช่วยในการแก้ไขปัญหาการกำจัดขยะยาง อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับขยะยาง และเป็นแนวทางในการพัฒนาเพื่อนำไปใช้จริงในอุตสาหกรรมยางต่อไป
ที่มา :
ไทยโพสต์
จุฬาฯ
เปิด 3 ผลงานวิจัยรีไซเคิล
ในอุตสาหกรรมยาง
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
1,156
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
“เจาะลึก TPAT1 กสพท68 ! ข้อควรระวังในแต่ละพาร์ทที่ช่วยให้ DEK68 สอบผ่านอย่างมั่นใจ”
1K
ภาคปกติหรือพิเศษ? ค่าเทอม คณะนิติศาสตร์ จาก 12 มหาลัยดัง
1K
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
4K
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
6K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
5K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?
พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
สถาบันไหน ?? จะครองใจ 2024
ร่วมโหวต!เลย..
สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง
ชวนน้อง ม.ปลาย เรียน ป.ตรี ล่วงหน้า Pre-degree รับสมัครวันนี้ - 17 พ.ย. 2567
×
Close