เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
งานที่ใช้ 4 ทักษะ ที่ AI ยังทำแทนไม่ได้!
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
19 ส.ค. 62 16:49 น.
19 ส.ค. 62 16:49 น.
อ่านแล้ว
2,929
จำนวน
แชร์
P' เอ็ม AdmissionPremium
ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่สร้างยาก และเป็นทักษะที่ไม่สามารถถูกทดแทนได้ง่ายๆ เพราะฉะนั้น งานอะไรก็ตามที่ต้องใช้ทักษะเฉพาะ ความคิดสร้างสรรค์ และอารมณ์ความเป็นมนุษย์ ก็ยากที่จะถูกทดแทนด้วยหุ่นยนต์
อย่างที่
อาจารย์เอกก์ ภทรธนกุล อาจารย์ประจำภาควิชาการตลาด คณะบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ให้ความเห็นเกี่ยวกับอนาคตการเรียนและการทำงานทีน่าสนใจ ไว้ว่า โลกนี้มีอาชีพเยอะมาก โดยอาชีพหลักๆ มีประมาณ 600 กว่าอาชีพ
แต่ปัจจุบันและอนาคตอันใกล้จะมีวิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างเช่น ปัญญาประดิษฐ์ AI หรือ หุ่นยนต์เข้ามาทำหน้าที่แทนคน ซึ่งทุกอาชีพสามารถถูกแทนที่ได้หมดหากทำงานเป็นระบบซ้ำๆ เดิมๆ
แต่มนุษย์เราก็ใช่ว่าจะต้องหวาดกลัว เพราะเรายังมีทางเลือก นั่นคือ
ทำงานที่หุ่นยนต์แทนที่ได้ยาก
อย่างเช่น
งานที่ต้องใช้ 4 ทักษะดังต่อไปนี้
ความคิดสร้างสรรค์
เพราะหุ่นยนต์หรือ AI ถูกโปรแกรมให้ทำตามระบบ ซึ่งสามารถทำงานได้เร็ว ถูกต้อง แม่นยำ แต่ AI ไม่ได้มีความคิดสร้างสรรค์แบบที่คนมี
ประสาทสัมผัส
อาชีพที่มีการใช้ประสาทสัมผัส รูป รส กลิ่น เสียง เช่น นักออกแบบกลิ่นหอม นักออกแบบเสียง คนเหล่านี้จะมีงานทำตลอด เพราะต่อให้หุ่นยนต์ AI มีข้อมูล ความรู้มากมาย แต่ไม่สามารถออกแบบกลิ่นหอมได้ถูกใจคนจริงๆ หรือออกแบบเพลงได้อย่างเข้าใจลึกซึ้งแบบคนด้วยกันนั้น หรืออาชีพ แพทย์แผนโบราณแบบจีน เป็นการใช้ประสาทสัมผัสหลายอย่างที่ AI ไม่สามารถทำงานแทนได้
ความฉลาดทางอารมณ์
หรืออาชีพที่ต้องใช้อารมณ์หรือความรู้สึกความเป็นคนเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น แพทย์ให้กำลังใจผู้ป่วย นักขายประกัน ขายของต้องเข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของลูกค้า หากทุกอาชีพเข้าใจ รู้จักอารมณ์ของผู้อื่น และถ่ายทอดอารมณ์ได้ก็จะทำให้อยู่ในอาชีพที่ตนเองต้องการได้ เพราะ AI เน้นระบบ ใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์
ความฉลาดทางสังคม
ความฉลาดทางสังคมหรือเสน่ห์ของคน เพราะหุ่นยนต์ หรือ AI ไม่ได้มีเสน่ห์หรือรู้จักการเข้าสังคม การเข้ากับผู้อื่นได้ง่าย คุยและรับฟังเรื่องของผู้อื่นได้ เป็นนักฟังที่ดีได้เท่ากับคน
ที่มา :
www.nationtv.tv
medium.com/
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
2,929
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
“เจาะลึก TPAT1 กสพท68 ! ข้อควรระวังในแต่ละพาร์ทที่ช่วยให้ DEK68 สอบผ่านอย่างมั่นใจ”
530
ภาคปกติหรือพิเศษ? ค่าเทอม คณะนิติศาสตร์ จาก 12 มหาลัยดัง
676
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
1K
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
5K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
4K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
TNI เปิดรับสมัคร
พร้อมชิงทุนสูงสุด 100%
สถาบันไหน ?? จะครองใจ 2024
ร่วมโหวต!เลย..
สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง
ชวนน้อง ม.ปลาย เรียน ป.ตรี ล่วงหน้า Pre-degree รับสมัครวันนี้ - 17 พ.ย. 2567
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
สาขาแนะนำ ตามคำเรียกร้อง
น่าเรียน มีที่ไหน เน้นอะไร มาดูกัน!!
×
Close