เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
ศธ.เปิดทางวิศวะ-วิทย์-เทคโนฯสอบครู
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
11 มี.ค. 59 10:00 น.
11 มี.ค. 59 10:00 น.
อ่านแล้ว
379
จำนวน
แชร์
กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทางให้ผู้เรียนจบปริญญาตรีสายวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สอบบรรจุครูได้ หวังรองรับการเรียนสะเต็มศึกษา เตรียมปรับเกณฑ์ให้ใช้ได้ทันสอบบรรจุครูผู้ช่วยเดือนตุลาคมนี้
วันนี้ (10 มี.ค.) ดร.ชัยยศ อิ่มสุวรรณ์ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ในฐานะโฆษก ศธ. เปิดเผยว่า เมื่อเร็วๆนี้นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รมช.ศธ. ได้หารือร่วมกับ ผู้บริหารสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา และสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ถึงนโยบายส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา ซึ่งเป็นแนวทางการศึกษาที่ได้บูรณาการความรู้ระหว่างศาสตร์วิชาต่างๆ เช่น ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ทางด้านวิศวกรรม และความรู้ด้านคณิตศาสตร์รวมเข้าด้วยกัน ให้แก่นักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ แต่ขณะนี้พบว่า ศธ.ยังขาดแคลนครูที่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่จะเข้ามาสอนในวิชาที่รองรับแนวคิดสะเต็มศึกษา ดังนั้น ที่ประชุมจึงมีมติแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่จบปริญญาตรีสายวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สามารถเข้าสอบแข่งขันเพื่อบรรจุเข้ารับราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครูผู้ช่วยได้เช่นเดียวกับผู้ที่จบทางด้านศึกษาศาสตร์และครุศาสตร์
ที่ประชุมมอบหมายให้สำนักงานเลขาธิการ ก.ค.ศ.ไปปรับปรุงหลักเกณฑ์การคัดเลือกครู ส่วนคุรุสภาก็ปรับปรุงการได้มาซึ่งใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู รวมถึงสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ไปสำรวจความต้องการครูในแต่ละสถานศึกษา ทั้งนี้จะเร่งให้การปรับหลักเกณฑ์ดังกล่าวให้ทันการสอบครูผู้ช่วยในเดือนตุลาคมนี้ เมื่อสอบบรรจุได้ระหว่างที่กำลังสอนอยู่จะมีการฝึกทักษะจิตวิทยาของความเป็นครู รวมทั้งกระบวนการจัดการเรียนการสอน และมีการทดสอบจากการปฏิบัติงานจริง หากภายใน 2 ปี ครูสามารถผ่าน 9 มาตรฐานวิชาชีพตามที่คุรุสภากำหนด คุรุสภาก็จะออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูให้ แต่หากไม่ผ่านก็สามารถต่อใบอนุญาตปฎิบัติการสอนชั่วคราวได้ 3 ครั้ง ขณะเดียวกันจะให้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำรวจว่ามีการจัดการเรียนการสอนใน 3 สาขาวิชาดังกล่าวจำนวนเท่าใด รวมถึงผู้ที่กำลังจะจบภายในปีนี้ด้วย เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการวางแผนการรับสมัครครูผู้ช่วยต่อไป" โฆษก ศธ.กล่าวและว่า ที่ประชุมยังพูดถึงการปรับค่าตอบแทนของครูให้สูงขึ้น เพื่อสร้างแรงจูงใจให้คนเก่งได้มาเป็นครูมากขึ้น แต่ก็มีผู้มองว่าปัจจุบันเงินเดือนครูบรรจุใหม่ ก็อยู่ในระดับที่สูงอยู่แล้ว เมื่อเทียบกับหลายปีที่ผ่านมา
ต่อข้อถามว่า การคัดเลือกผู้เข้ามาเป็นครูผู้ช่วยจะเกิดช่องว่างหรือเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ที่จบทั้ง 3สาขานี้หรือไม่ ดร.ชัยยศ กล่าวว่า เรื่องนี้ขึ้นอยู่กับการออกข้อสอบ ซึ่งจะต้องทำให้เกิดความยุติธรรมกับทุกฝ่ายไม่ให้เกิดการได้เปรียบหรือเสียเปรียบกัน ไม่ใช่เปิดช่องให้ใครคนใดคนหนึ่งเข้ามา เพราะผู้ที่เรียนสายครูต่างก็ใช้ระยะเวลาเรียนมาหลายปี ดังนั้นจะต้องไม่ปิดโอกาสของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
ที่มา : เดลินิวส์
ดร.ชัยยศ อิ่มสุวรรณ์
กระทรวงศึกษาธิการ
เปิดทางวิศวะ-วิทย์-เทคโนฯ
สอบครูผู้ช่วย
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
379
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
“เจาะลึก TPAT1 กสพท68 ! ข้อควรระวังในแต่ละพาร์ทที่ช่วยให้ DEK68 สอบผ่านอย่างมั่นใจ”
390
ภาคปกติหรือพิเศษ? ค่าเทอม คณะนิติศาสตร์ จาก 12 มหาลัยดัง
537
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
1K
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
5K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
4K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
สถาบันไหน ?? จะครองใจ 2024
ร่วมโหวต!เลย..
สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง
ชวนน้อง ม.ปลาย เรียน ป.ตรี ล่วงหน้า Pre-degree รับสมัครวันนี้ - 17 พ.ย. 2567
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
สาขาแนะนำ ตามคำเรียกร้อง
น่าเรียน มีที่ไหน เน้นอะไร มาดูกัน!!
จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?
พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!
×
Close