เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
โพลเผยคนไทยใช้สื่อโซเชียล เฉลี่ย 1-2 ชม./วัน ส่วนใหญ่บนเตียงนอน
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
25 ก.พ. 59 15:56 น.
25 ก.พ. 59 15:56 น.
อ่านแล้ว
350
จำนวน
แชร์
“นิด้าโพล” เผยคนไทยส่วนใหญ่ใช้อุปกรณ์พกพาเคลื่อนที่ บนเตียงนอน พูดคุยกับคนรู้จักผ่านสื่อโซเชียล มองปัญหาสังคมก้มหน้ารุนแรงปานกลาง หวั่นมีความเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุ แนะรณรงค์เล่นมือถือให้เหมาะสมกับเวลา-สถานที่...
เมื่อวันที่ 25 ก.พ. ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ร่วมกับสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-12 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เปิดเผยผลสำรวจเรื่อง “ความคิดเห็นของประชาชนต่อผลกระทบจาก “สังคมก้มหน้า” จากประชาชนทั่วประเทศ กระจายทั่วทุกภูมิภาค รวมทั้งสิ้น 4,819 หน่วยตัวอย่าง พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ใช้อุปกรณ์พกพาเคลื่อนที่ ร้อยละ 88.94 และไม่ใช้อุปกรณ์พกพาเคลื่อนที่ ร้อยละ 11.06 และใช้มือถือ (Smartphone) เป็นส่วนใหญ่ ร้อยละ 93.94 รองลงมาแท็บเล็ต (Tablet) ร้อยละ 3.51 และไอแพด (I-pad) ร้อยละ 2.56
เมื่อถามต่อไปว่าส่วนใหญ่ใช้อุปกรณ์พกพาเคลื่อนที่ช่วงเวลาใดมากที่สุดและใช้ระยะเวลาเท่าใด พบว่า ส่วนใหญ่ใช้บนเตียงนอน (ก่อนนอน/ตื่นนอน) ร้อยละ 35.28 รองลงมาระหว่างทำงาน ร้อยละ 17.44 และระหว่างการเดินทาง ร้อยละ 12.27 และส่วนใหญ่ใช้เวลาในการเข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์ 1-2 ชั่วโมงต่อวัน ร้อยละ 24.74 รองลงมา 2-3 ชั่วโมงต่อวัน ร้อยละ 19.24 และน้อยกว่า 1 ชั่วโมงต่อวัน ร้อยละ 19.17
เหตุผลที่ประชาชนส่วนใหญ่เข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) อันดับแรก คือ พูดคุย/ติดต่อกับบุคคลที่รู้จัก ร้อยละ 90.60 อันดับที่ 2 คือ หาข้อมูล/แลกเปลี่ยนข้อมูล ร้อยละ 46.55 และ อันดับที่ 3 คือ โพสต์ข้อความ/รูปภาพ ร้อยละ 39.25
ด้านความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความรุนแรง “ปัญหาสังคมก้มหน้า” ประชาชนส่วนใหญ่คิดว่าเป็นปัญหาที่รุนแรงปานกลาง ร้อยละ 36.65 รองลงมาเป็นปัญหาที่รุนแรงค่อนข้างมาก ร้อยละ 29.39 และรุนแรงมากที่สุด ร้อยละ 22.47 ซึ่งมีค่าเฉลี่ย 6.69 ซึ่งปัญหาที่รุนแรงในระดับค่อนข้างมาก และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.321
เมื่อถามถึงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบจากสังคมก้มหน้า พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่คิดว่าสังคมก้มหน้ามีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เพราะมัวสนใจอยู่แต่กับสิ่งที่อยู่ตรงหน้า ร้อยละ 55.78 รองลงมาทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ไม่ลงรอย หรือมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้างน้อยลงไป ร้อยละ 51.16 และเสี่ยงต่อการที่จะมีพฤติกรรมเสพติดด้านอื่นๆ เช่น ติดเกม Social Network ร้อยละ 39.34 และเมื่อถามว่าตัวท่านเองคิดว่าตนเองจัดอยู่ในกลุ่มประเภทของ “สังคมก้มหน้า” ประชาชนส่วนใหญ่ตอบว่า เป็นบ้างในระดับหนึ่ง ร้อยละ 59.35 รองลงมาไม่เป็นเลย ร้อยละ 34.24 และเป็นมาก ร้อยละ 6.41
ท้ายที่สุดประชาชนให้ข้อเสนอแนะ หรือวิธีแก้ปัญหาในเรื่องสังคมก้มหน้า อันดับแรก คือ รณรงค์ในการเล่นมือถือให้เหมาะสมกับเวลาและสถานที่ ร้อยละ 36.36 อันดับที่ 2 ทำกิจกรรมภายในครอบครัวและคนรอบข้างให้มากขึ้น เช่น พูดคุย ไปเที่ยว ร้อยละ 14.55 และอันดับที่ 3 เยาวชนควรได้รับการควบคุมในการเล่นมือถือจากผู้ปกครอง ร้อยละ 12.61
ขอบคุณข้อมูลจาก :
ไทยรัฐออนไลน์
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
350
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
“เจาะลึก TPAT1 กสพท68 ! ข้อควรระวังในแต่ละพาร์ทที่ช่วยให้ DEK68 สอบผ่านอย่างมั่นใจ”
1K
ภาคปกติหรือพิเศษ? ค่าเทอม คณะนิติศาสตร์ จาก 12 มหาลัยดัง
1K
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
3K
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
6K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
5K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?
พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!
สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง
ชวนน้อง ม.ปลาย เรียน ป.ตรี ล่วงหน้า Pre-degree รับสมัครวันนี้ - 17 พ.ย. 2567
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
×
Close