เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
เผยผลวิจัยชี้ 3 ปัจจัยเด็กไทยสอบตกครึ่งประเทศ
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
17 ก.พ. 59 14:12 น.
17 ก.พ. 59 14:12 น.
อ่านแล้ว
1,598
จำนวน
แชร์
สสค.เผยไทยติด 1 ใน 16 ประเทศ นักเรียนสอบตกการวัดผลระดับนานาชาติกว่าครึ่งประเทศ พร้อมเปิดผลวิจัยของ OECD พบสาเหตุ 3 ปัจจัยที่ทำให้เด็กมีคะแนนต่ำมาจาก
“ครอบครัว-โรงเรียน-ระบบการศึกษา”
ชี้หากไม่เร่งแก้ไขจะส่งผลเสียต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจถึง 16%
วันนี้ (17ก.พ.) ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายเศรษฐศาสตร์การศึกษา สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) กล่าวถึงกรณีการสอบโอเน็ตที่เยาวชนไทยสอบตกในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์กว่าครึ่งประเทศว่า ปรากฎการณ์เด็กไทยสอบตกกว่าครึ่งประเทศไม่ใช่เฉพาะการสอบโอเน็ตเพียงอย่างเดียว แต่การวัดผลระดับนานาชาติอย่าง PISA ก็ได้ผลใกล้เคียงกันที่เด็กไทยมากกว่าครึ่งประเทศสอบตกวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือแม้แต่การอ่าน ดังนั้นประเทศไทยจึงเป็น 1 ใน 16 ประเทศ ที่เยาวชนอายุ 15 ปี สอบตก PISA มากกว่าครึ่งหนึ่งของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนที่เข้าสอบ
ดร.ไกรยส กล่าวต่อไปว่า สาเหตุที่ทำให้เด็กมีผลการเรียนต่ำไม่ได้มาจากเด็กเพียงอย่างเดียว ซึ่งจากผลวิจัยขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา(OECD ) ที่ได้ศึกษาข้อมูลเชิงลึกของเยาวชนในกลุ่มประเทศที่มีผลคะแนนสอบตกมากกว่าครึ่งประเทศอย่างต่อเนื่องยาวนานมากกว่า 10 ปีรวมทั้งประเทศไทย และได้มีการเผยแพร่ในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา พบว่าปัจจัยที่ทำให้เด็กมีผลการเรียนต่ำมาจาก 3 ส่วนสำคัญคือ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับเด็กและครอบครัว ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน และปัจจัยที่เกี่ยวกับระบบการศึกษา ดร.ไกรยส กล่าวว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับเด็กและครอบครัวประกอบด้วย ความยากจน การขาดโอกาสทางการศึกษาก่อนวัยเรียนหรือเข้าเรียนล่าช้า ส่งผลให้เกิดปัญหาการขาดเรียนและมีแนวโน้มหลุดจากระบบการศึกษา รวมถึงการอบรมเลี้ยงดูที่ส่งผลต่อทัศนคติด้านการศึกษา ส่วนปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน ประกอบด้วย สัดส่วนเด็กด้อยโอกาสในโรงเรียนซึ่งมีผลต่อประสิทธิภาพในการพัฒนาเด็กด้อยโอกาสเป็นรายบุคคล สิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน ปัญหากระบวนการสอนในชั้นเรียน เช่น ครูไม่อยู่ในห้องเรียน ครูไม่ครบชั้นหรือขาดประสบการณ์ รวมถึงการขาดแคลนทรัพยากรและบุคลากรที่เพียงพอ สำหรับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบการศึกษา โดยเฉพาะการจัดสรรทรัพยากรด้านการศึกษาที่ไม่เป็นธรรม เป็นต้น
การแก้ปัญหาจึงไม่ควรแก้เฉพาะในโรงเรียน แต่ต้องทำงานร่วมกันระหว่างครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องต่อความต้องการที่หลากหลายของเด็กที่มีปัญหา รวมถึงพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ ทั้งนี้หากไม่แก้ปัญหาพัฒนาการเรียนรู้ที่ล่าช้าของเด็กอายุ 15 ปี อย่างเป็นระบบ OECD ได้ประเมินมูลค่าความเสียหายจากกำลังแรงงานที่ขาดคุณภาพไว้ว่า จะส่งผลเสียต่ออัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่จะหายไปถึงร้อยละ 16 ” ดร.ไกรยส กล่าว
ขอขอบคุณข้อมูลจาก :
เดลินิวส์
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
1,598
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
130
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
3K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
3K
เตรียมอุดมฯ ปรับวิธีคัดเด็กโควตาปี 60
5K
Dek รุ่นไหนก็มาร่วมงานนี้ได้ ! วางแผนเตรียมตัว สู่รั้วมหาวิทยาลัย (รับจำนวนจำกัด)
5K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?
พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
สาขาแนะนำ ตามคำเรียกร้อง
น่าเรียน มีที่ไหน เน้นอะไร มาดูกัน!!
×
Close