เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
เกิดมาครั้งหนึ่ง ชีวิตคนเราจะพีคได้สักกี่ครั้ง นี่คือ "ประมวล 9 ความพีคของ 1 ชีวิตมนุษย์"
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
05 มิ.ย. 60 11:03 น.
05 มิ.ย. 60 11:03 น.
อ่านแล้ว
9,029
จำนวน
แชร์
P' แพว AdmissionPremium
เคยคิดกันไหมว่า เกิดมาครั้งหนึ่ง ชีวิตคนเราจะมีจุดพีคได้สักกี่ครั้งกันนะ? ทั้งเรื่องร่างกาย จิตใจ และสถานการณ์ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น เอาล่ะ เมื่อผู้คนมีความสงสัย นักวิทยาศาสตร์ช่างคิดทั้งหลายต่างพยายามหาคำตอบที่เป็นวิทยาศาสตร์มาตอบเราว่า ร่างกายและจิตใจของมนุษย์นั้น จะมีแนวโน้มเข้าขั้นพีคเรื่องใดและในวัยไหนกันบ้าง? ซึ่งผลที่ได้ก็มีตั้งแต่เรื่องของรอยหยักในสมองไปจนถึงความพึงพอใจค่อนข้างไร้เหตุผลอยู่มากมาย เอาเป็นว่าตามมาดู
“ประมวล 9 ความพีคของชีวิตมนุษย์เรียงลำดับจากช่วงอายุ”
ที่เรานำมาฝากกันได้เลย
ความพีคที่ 1
อายุ 7-8 ปี การเรียนภาษาที่สองจะง่ายที่สุด
แม้นักภาษาศาสตร์และนักจิตวิทยา ยังคงถกเถียงเรื่องนี้ แต่รวมๆ แล้วยอมรับร่วมกันว่า สำหรับคนส่วนใหญ่การเรียนภาษาที่สองตั้งแต่เด็กๆ ง่ายกว่าไปเรียนเอาตอนวัยรุ่นเยอะ
ความพีคที่ 2
อายุ 18 ปี ประสิทธิภาพการประมวลผลของสมองสูงสุด
การทดสอบเรื่องความคิดและการรับรู้ของนักวิทยาศาสตร์ เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการประมวลผลของสมอง ผ่านแบบทดสอบที่เรียกว่า
‘
Digit Symbol Coding Test’
โดยจะแทนตัวเลขด้วยสัญลักษณ์ต่างๆ จากนั้นส่งกลุ่มตัวเลขมาแล้วให้ผู้ทดสอบ จับคู่ตัวเลขกับสัญลักษณ์ให้ถูกต้อง โดยเฉลี่ยแล้ว
ผู้ทดสอบอายุ
18 ทำได้ดีที่สุด
ความพีคที่ 3
อายุ 22 ปี หญิงสาวจะตกหลุมรักได้ง่ายที่สุด
คริสเตียน รัดเดอร์ ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์หาคู่เดท OkCupid และผู้เขียนหนังสือ Dataclysm ใช้สถิติจากการเว็บไซต์ให้คำตอบเรื่องนี้ว่า หนุ่มๆ มักจะเริ่มหาคู่รักอย่างจริงจังตอนฝ่ายหญิงอายุ 20 ต้นๆ แม้เวลาผ่านไป รสนิยม/ความชอบในวัย 20 กว่าๆ ของชายหนุ่มยังคงเหมือนเดิม ในทางกลับกันผู้หญิงมีแนวโน้มจะชอบผู้ชายที่แก่กว่าเล็กน้อย แค่ 1-2 ปี หรือถ้าอายุขึ้นเลข 3 แล้ว สาวๆ มักจะมองหาหนุ่มอ่อนวัยกว่า
(ป.ล. แต่ ช่วงอายุ 26 ปี คือวัยที่พีคที่สุดในการลงหลักปักฐาน หมายถึง คบใครจริงจังสักคน เพราะวัยนี้ผ่านผู้คนมาไม่น้อยแล้ว และเป็นเหตุผลเพียงพอที่จะบอกว่า “ไม่รอแล้ว/ไม่เลือกแล้ว” เมื่อคนถูกใจมายืนอยู่ตรงหน้า)
ความพีคที่ 4
อายุ 23 ปี ความพอใจในชีวิตตัวเองพุ่งขึ้นสูงสุด
จากการสำรวจคนเยอรมันประมาณ 23,000 คน พบว่าคนวัย 23 จะพึงพอใจกับชีวิตของตัวเอง “เพราะทุกสิ่งผ่านการคิดมาหมดแล้ว”
ความพีคที่ 5
อายุ 25 ปี ร่างกายจะแข็งแกร่งที่สุด
เพราะกล้ามเนื้อจะแข็งแรงที่สุดเมื่อเข้าวัยเบญจเพส แม้ว่าหลังจากนั้น 10 ปีหรือ15 ปี คุณจะออกกำลังให้ฟิตแค่ไหนก็ตาม
(ป.ล. อายุ 28 ปี วิ่งมาราธอนได้พีคที่สุด นอกจากจะวิ่งได้ยาวนานและอัตราเร็วสม่ำเสมอแล้ว อีกเหตุผลหนึ่งเพราะ 28 คือวัยที่จะเป็นแรงบันดาลใจให้ผู้อื่นด้วยการฝึกฝนและวิ่ง วิ่ง วิ่ง)
ความพีคที่ 6
ช่วงอายุ 39 ปี ผู้หญิงหาเงินได้สูงสุด และ ช่วงอายุ 48 ปี ผู้ชายหาเงินได้สูงสุด
แน่นอนว่าเงินเดือนและผลตอบแทนจะไต่ระดับไปตามอัตราเงินเฟ้อ แต่เอาเข้าจริงแล้วกำลังซื้อเราก็มากขึ้นกว่าตอนทำงานใหม่ๆ แน่นอน และจากการวิเคราะห์ของ Payscale เว็บไซต์วิเคราะห์และวิจัยเงินเดือนและค่าตอบแทน ผู้หญิงจะหาเงินได้มากที่สุดตอนอายุ 39 ราว 60,000 ดอลลาร์ หรือ 2.12 ล้านบาท (ที่น้อยกว่าเพราะจำนวนไม่น้อยต้องลาออกไปเลี้ยงลูก พร้อมแล้วจึงกลับมาทำงานใหม่) และผู้ชายอยู่ที่อายุ 48-49 ปี ราว 95,000 ดอลลาร์ หรือ 3.36 ล้านบาท
ความพีคที่ 7
อายุ 50 ปี คิดเลขได้เจ๋งที่สุด
แม้ตอนประถม คุณจะแม่นสูตรคำนวณเปรี๊ยะแค่ไหน แต่จุดสูงสุดของคณิตในชีวิตก็อยู่ที่ 50 อยู่ดี และอายุ 51 ปี เข้าใจจิตใจผู้อื่นได้มากที่สุด
ความพีคที่ 8
อายุ 69 ปี จำคำศัพท์ได้มากที่สุด
จากการทำแบบทดสอบวัดความรู้คำศัพท์แบบปรนัย พบว่าคนวัย 60-70 ปี ชนะเลิศในหมวดนี้แม้ไม่ต้องนั่งอ่านดิกชันนารีทั้งวันทั้งคืน
ความพีคที่ 9
พ้นวัย 75 ไปแล้ว ผู้หญิงและผู้ชายรู้สึกดีที่สุดต่อรูปร่างตัวเอง
2 ใน 3 ของคนอเมริกันวัยเกิน 75 ปี รักรูปร่างตัวเอง ของผู้ชายจะพีคสุดเมื่อ 80 ต้นๆ แต่ผู้หญิงจะชอบตัวเองมากๆ เมื่อล่วงเข้า 85 ปีไปแล้ว โดยกราฟความพอใจในชีวิตตัวเองจะไต่ไปถึงขั้นสุดในวัย 23 ปี แต่หลังจากนั้นจะค่อยๆ ดร็อปลงมาในช่วงวัยกลางคน และความพอใจในชีวิตจะไปพีคอีกครั้งเมื่ออายุราวๆ 70
ที่มา :
waymagazine.org
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
9,029
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
“เจาะลึก TPAT1 กสพท68 ! ข้อควรระวังในแต่ละพาร์ทที่ช่วยให้ DEK68 สอบผ่านอย่างมั่นใจ”
530
ภาคปกติหรือพิเศษ? ค่าเทอม คณะนิติศาสตร์ จาก 12 มหาลัยดัง
676
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
1K
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
5K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
4K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?
พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
TNI เปิดรับสมัคร
พร้อมชิงทุนสูงสุด 100%
×
Close