เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
บริษัทจีนผลิตหัวปากกาลูกลื่นสำเร็จ ลากเส้นยาว 800 เมตรไม่มีสะดุด
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
21 ม.ค. 60 13:59 น.
21 ม.ค. 60 13:59 น.
อ่านแล้ว
1,214
จำนวน
แชร์
พี่จ๋า AdmissionPremium
บริษัทจีนผลิตหัวปากกาลูกลื่นสำเร็จ ลากเส้นยาว 800 เมตรไม่มีสะดุด
“หัวปากกาลูกลื่น”
ที่ผลิตโดย “ไท่หยวน ไอร่อนแอนด์สตีล”(ภาพซินหวา) ซั่งไห่อิสต์ สื่อทางการจีนรายงาน (11 ม.ค.) บริษัทจีนวิจัยการผลิตหัวปากกาลูกลื่นได้สำเร็จหลังซุ่มวิจัยนาน 5 ปี
วันอังคารที่ผ่านมา (10 ม.ค) “ไท่หยวน ไอร่อนแอนด์สตีล” (Taiyuan Iron & Steel : TISCO) บริษัทผู้ผลิตเหล็กและเหล็กกล้าชั้นนำของจีนประกาศว่า ได้วิจัยการผลิต “หัวปากกาลูกลื่น” ได้เป็นผลสำเร็จ หลังจากที่ได้ทุ่มทุนวิจัยมานานนับ 5 ปี
รายงานระบุว่า ประเทศจีนเป็นประเทศผู้ผลิตปากกาลูกลื่นที่ใหญ่เป็นอันดับ 1 ของโลก ด้วยจำนวนการผลิตปากกามากกว่า 3.8 หมื่นล้านด้ามต่อปี แต่ที่ผ่านมาจีนกลับไม่สามารถผลิตหัวปากกาลูกลื่นที่มีคุณภาพได้ เนื่องจากกระบวนการผลหัวปากกามีความซับซ้อนมากถึง 20 ขั้นตอน จึงต้องนำเข้าหัวปากกาจากประเทศญี่ปุ่น นับเป็นมูลค่า 17 ล้านดอลล่าร์ หรือราว 600 ล้านบาทต่อปี
บริษัทไท่หยวนเปิดเผยว่า ผลสำเร็จของการวิจัยจะทำให้ประเทศจีนสามารถพึ่งพาตนเองในการผลิตปากกาได้ โดยตั้งเป้าว่าจะสามารถผลิตหัวปากกาทดแทนการนำเข้าได้ทั้งหมดภายในเวลา 2 ปี
ทั้งนี้ ผลการทดสอบคุณภาพในห้องทดลองชี้ว่าหัวปากกาของบริษัทไท่หยวน สามารถลากเส้นได้ยาว 800 เมตรโดยไม่ขาดตอน มีคุณภาพทัดเทียมกับสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ
ปากกาลูกลื่น เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
การเขียนโดยใช้ปากกาเป็นวัฒนธรรมยุโรป แรกเริ่มเดิมทีใช้ขนนกบางชนิดที่ดูดหมึกได้เขียน ต่อมาก็พัฒนาเป็นเอาปากกาเหล็กแหล่มๆมาสวมที่ปลายขนนก ให้เส้นที่ได้มันคมขึ้น แล้วก็กลายมาเป็นปากกาหมึกซึม ซึ่งมีปัญหามาก ต้องพกขวดหมึก เขียนไปต้องคอยดูดหมึก และเลอะเทอะไปหมด
คนที่คิดปากกาลูกลื่นได้ชื่อ ลาซาโล บิโร (László Bíró) นักหนังสือพิมพ์ชาวฮังกาเรี่ยน มีชีวิตอยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งมีปัญหาเหมือนชาวยุโรปอื่นๆ คือรำคาญปากกาเดิมที่สกปรก ต้องเติมหมึก บิโร พบว่าหมึกที่ใช้พิมพ์หนังสือพิมพ์มันแห้งเร็วดี น่าจะไม่เลอะ แต่ก็มีปัญหาคือพอเอาไปใส่ในปากกาแบบเดิม มันดันไม่ไหลออกมา ด้วยความช่วยเหลือของพี่ชายที่เป็นนักเคมี ก็เลยพัฒนาปากกาที่มีลูกเหล็กอยู่ที่ปลายขึ้นมา
ต่อมา ปี 1940 ปิโรหนีพวกนาซีไปที่อาเจนตินา และจดสิทธิ์บัตร เพื่อขายปากกาลูกลื่นที่นั่นและเมื่อ มิลตั้น เรย์โนด์ (Milton Reynolds) นักธุรกิจชาวอเมริกันเห็นปากกาของปิโรว่าใช้งานดีมาก แถมยังไม่ได้จดสิทธิบัตรที่สหรัฐอเมริกา ก็เลย
ก็อปไปจดซะเลย
ต่อมา เรย์โนด์ ก็ขายปากกาลูกลื่นที่อเมริกาจนรวยสัสๆ พัฒนาปากกาลูกลื่นให้หัวเล็กลง เขียนไม่สะดุด และทำปากกาที่เห็นอยู่ในรูปนี้ขายทั่วโลก แล้วความยากของมันอยู่ตรงไหน ?
ปัญหาคือส่วนปลายของปากกาลูกลื่นนั้นต้องใช้โลหะทำหัวปากกา และลูกบอลขนาดเล็กมากๆครับ ลูกบอลต้องกลมดิ๊ก พอดีกับหัวปากกา ทั้งหมดต้องแข็งแรงทนแรงกดของมือได้โดยไม่เสียรูป เมื่อผู้บริโภคต้องการปากกาที่เขียนมาให้เส้นขนาด 0.5-0.3 มิลลิเมตร ทำให้มันเป็นไปไม่ได้เลยด้วยการทำงานของมือมนุษย์ ต้องใช้เครื่องจักรที่มีความแม่นยำสูงมากๆ เท่าน้น แล้วยังต้องมีโจทย์เรื่องการผลิตจำนวนมากให้เท่ากันหมด และคุ้มทุนในการทำเป็นอุตสาหกรรม
ประเทศที่ผลิตหัวปากกาแบบนี้ได้ตอนนี้บนโลกมีแค่ ญี่ปุ่น เยอรมัน และสวิตเซอร์แลนด์ เท่านั้น
โรงงานปากกาทั่วโลกต้องนำเข้าหัวปากกาจากประเทศเหล่านี้
แต่ทำส่วนหมึก และตัวด้ามเอง ( ข้อมูลบางส่วนจาก แฟนเพจ
Starless Night - Harit Mahaton
)
และบางความเห็นของสมาชิก Pantip ที่รับทราบเรื่องราวนี้จาก กระทู้ Pantip ได้มองว่า
" สิ่งที่เขาได้คือองค์ความรู้ในการผลิตวัสดุที่คงทนสุดๆ
และการขึ้นรูปโลหะขนาดเล็กที่ต้องใช้ความแม่นยำสูง
ไปจนถึงองความรู้ในการค้นคว้าและพัฒนา
มันมากกว่าแค่หัวปากกาลูกลื่นที่เขาได้รับ "
ซึ่งพี่จ๋า Admission Premium ค่อนข้างเห็นด้วยกับความเห็นข้างต้นนะ เพราะสิ่งที่ประเทศจีนเขาได้รับ คือองค์ความรู้ใหม่ที่มันมีค่ามากกว่า "การทำหัวปากกาลูกลื่น" สำเร็จ แต่ก็ไม่แน่นะ ต่อไปอาจจะเขาอาจะรับจ้างผลิตเองก็ได้ในอนาคต จริงไหม ?
ขอขอบคุณข้อมูลจาก :
https://pantip.com/topic/36018124
,
Starless Night - Harit Mahaton
,
ผู้จัดการ online
พี่จ๋า AdmissionPremium
หัวปากกาลูกลื่น
ไท่หยวน ไอร่อนแอนด์สตีล
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
1,214
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
115
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
3K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
3K
เตรียมอุดมฯ ปรับวิธีคัดเด็กโควตาปี 60
5K
Dek รุ่นไหนก็มาร่วมงานนี้ได้ ! วางแผนเตรียมตัว สู่รั้วมหาวิทยาลัย (รับจำนวนจำกัด)
5K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?
พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
สถาบันไหน ?? จะครองใจ 2024
ร่วมโหวต!เลย..
สาขาแนะนำ ตามคำเรียกร้อง
น่าเรียน มีที่ไหน เน้นอะไร มาดูกัน!!
×
Close