เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
ใบประกอบวิชาชีพบริหารทรัพย์สิน
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
21 ก.ย. 59 11:17 น.
21 ก.ย. 59 11:17 น.
อ่านแล้ว
1,962
จำนวน
แชร์
พี่จ๋า AdmissionPremium
ใบประกอบวิชาชีพบริหารทรัพย์สิน
อาชีพบริหารจัดการโครงการหลังขาย เพิ่งผุดโผล่บนผืนแผ่นดินไทยเมื่อกว่า 30 ปีหรือพร้อมๆ กับการอุบัติขึ้นของที่อยู่อาศัยประเภทอาคารชุดเมื่อปลายปี 2524 ยุคต้นพล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
ถ้าเป็นมนุษย์วัย 30 เศษๆ ถือว่าเป็น “ผู้ใหญ่” แต่การบริหารจัดการหมู่บ้านและคอนโดฯ เมื่อเปรียบเทียบกับยุโรปและสหรัฐอเมริกาที่เขามีมากกว่า 100 ปี ของเราจึงอยู่ในวัยอนุบาลขั้นเตาะแตะหัดเดินเท่านั้น
พินิจพิจารณาง่ายๆ เอาประเทศที่ตั้งอยู่ใกล้ๆ กับไทยอย่างเช่น สิงคโปร์ ออสเตรเลียและหรือเกาะฮ่องกง บุคคลที่จะทำหน้าที่บริหารตึกสูงจะต้องผ่านการเรียนสาขาอาชีพ ดูแลชุมชนในระดับปริญญาตรีขึ้นไป และมีใบประกอบวิชาชีพนี้โดยเฉพาะ ในขณะที่ของเราไม่มีการกำหนดคุณสมบัติใดๆ
แปลว่าจบ ป.6 หรือชั้นมัธยมก็สามารถประกอบอาชีพเป็นผู้จัดการหมู่บ้านและตึกสูงเสียดฟ้าได้ทุกเวลา
ด้วยเหตุฉะนี้ แม้จะเกิดขึ้นในบ้านเมืองไทยกว่า 3 ทศวรรษ แต่เราก็ยังมะงุมมะงาหราไปไม่ถึงไหนต่อสักที แต่ที่ว่าๆ มานั่นคืออดีต ปัจจุบันหรือนับเนื่องกับการก้าวสู่ยุคประชาคมอาเซียนหรือ AEC
เมื่อปีสองปีที่ผ่านมา วิชาชีพบริหารทรัพย์สินในประเทศไทยกำลังพัฒนาสู่มาตรฐานอาชีพระดับสากลกับเขาเหมือนกัน
จุดเปลี่ยนผันเริ่มตอนปี 2557 เมื่อสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ TPQI ( Thailand Professional Qualification Institute ) มอบหมายให้สถาบันวิจัยแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาบริหารทรัพย์สิน ให้อยู่ในระดับชั้นเดียวกับนานาประเทศ
นคร มุธุศรี กับคณะกรรมการสมาคมบริหารทรัพย์สินแห่งประเทศไทย 3-4 คน ร่วมกับคณาจารย์คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ช่วยกันคิดทีละขั้นทีละตอน ระยะเวลาผ่านไป 2 ปีกว่าๆ ทำการผลิตเนื้อหาสาระรวบรวมเป็นเล่มหนากว่า 1,000 หน้า
นับต่อจากนี้ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรและนิติบุคคลอาคารชุดอย่างน้อย 2-3 ตำแหน่งต่อไปนี้
ต้องผ่านศึกษาการเรียนรู้และสอบให้ได้ใบประกาศนียบัตร ( Certificate ) วิชาชีพเป็นรายบุคคล
1. “ช่าง”
2. “ผู้จัดการอาคาร” และหรือ “หมู่บ้าน”
3. “ผู้จัดการหมู่บ้านจัดสรร” และ “ผู้จัดการนิติบุคคลอาคารชุด”
3 ตำแหน่งข้างต้นต้องศึกษาเรียนรู้อะไรบ้างผมจะหยิบยกหมวดที่สำคัญๆ มาให้ดูพอเป็นกระสายสัก 7-8 วิชา อาทิ ระเบียบข้อกฎหมายการบริหารจัดการนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรและอาคารชุด, การดูแลบำรุงรักษางานระบบและป้องกันอัคคีภัย, การจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรและอาคารชุด, การสร้างมูลค่าและคุณภาพชีวิตเพิ่ม, การบริหารงบประมาณและบัญชีการเงิน, การให้บริการและการประชาสัมพันธ์, การประกันภัย และจริยธรรม/จรรยาบรรณ/ธรรมาภิบาล ฯลฯ
ศึกษาเรียนรู้จนอย่างถ่องแท้แล้วต้องไปสมัครสอบกับองค์กรที่สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (TPQI ) ให้การรับรอง ซึ่งขณะนี้มีหลายที่หลายแห่ง อย่างเช่น สถาบันการศึกษา บริษัทจำกัดและสมาคมหรือมูลนิธิ เป็นต้น
องค์กรที่ให้การรับรองจะต้องมีคุณสมบัติที่สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพสาขาบริหารทรัพย์สิน กำหนด ดือ
สถานที่จัดสอบเหมาะสม มีเครื่องไม้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการสอบพรั่งพร้อม มีเครื่องมือหรือข้อสอบครบถ้วนทุกระดับชั้นคณะกรรมการสอบมีคุณวุฒิตรงตามข้อกำหนด และมีคณะกรรมการตัดสินผลการรับรองที่มีความรู้มีความเชี่ยวชาญ
4-5 รายการข้างต้นหากคณะผู้บริหารสำนักงานรับรองคุณวุฒิทำการตรวจสอบแล้วลงมติเห็นชอบให้ผ่าน ก็จะออกหนังสือสำคัญให้เป็นองค์กรสอบข้อเขียนและสอบสัมภาษณ์ เพื่อทำหน้าที่ให้การรับรองสมรรถนะของบุคคลในระดับชั้นและตำแหน่งตามที่ว่าในย่อหน้าต้นๆ ต่อไป
สำหรับผู้ที่ประสงค์จะเข้าสอบเอาใบรับรองสาขาวิชาชีพบริหารทรัพย์สิน จะต้องมีคุณสมบัติ 3-4 ประการต่อไปนี้ครบครันคือ อายุอานามไม่น้อยกว่า 25 ปี บริบูรณ์ การศึกษาต้องจบชั้น ปวส. (เฉพาะตำแหน่งช่าง ) ระดับ ปริญญาตรี (ตำแหน่งผู้จัดการอาคารและผู้จัดการนิติบุคคล ขึ้นไป) และมีประสบการณ์การทำงานในสายบริหารนิติบุคคลหมู่บ้านจัดหรือนิติบุคคลอาคารชุดไม่ต่ำกว่า 3- 5 ปี เป็นอย่างน้อย
ปัจจุบันมีบุคลากรที่อยู่แวดวงนับหมื่นๆ ท่านโดยคำนวณได้จากจำนวนคอนโดที่ผุดโผล่ บนผืนแผ่นดินไทยกว่า 13,000 โครงการ และบ้านจัดสรรอีก 2-3 หมื่นโปรเจ็กต์ รวม 2 ประเภทนี้ก็ปาเข้าไปร่วมๆ 3-4 หมื่นโครงการ นี่ยังไม่รวมอาคารสูงประสำนักงาน อพาร์ตเมนต์และโรงแรมโรงพยาบาลอีกไม่รู้เท่าไหร่ อสังหาริมทรัพย์เหล่านั้นจำต้องมีพนักงานดูแลบำรุงรักษา อย่างน้อยๆ 10-20 คนทุกที่ทุกแห่งไป
นับตั้งแต่นี้
ทุกคนจะต้องเข้าสอบเพื่อรับใบประกาศนียบัตร หรือ Licence มิฉะนั้นจะไม่สามารถทำงานในสาขาวิชาชีพบริหารทรัพย์สินได้อีกต่อไป
ระยะเวลาอีก 5-6 ปีต่อจากนี้การบริหารจัดการหมู่บ้านและคอนโดฯ รวมทั้งตึกสูงเสียดฟ้าจะผันเปลี่ยนจากที่ไม่รู้เรื่องรู้ราวกลับกลายเป็น “มืออาชีพ” มีมาตรฐานเทียบเท่านานาประเทศเขา
และ ณ เวลานั้น พ.ร.บ.อาคารชุดและกฎหมายบริหารหมู่บ้านจัดสรรจะถูกปรับแก้ให้เข้ายุคสมัยโดยบุคคลที่ดูแลจัดการนิติบุคคลทั้งประเภทตึกสูงและแนวราบจะถูกกำหนดคุณสมบัติอย่างชัดเจน จะต้องมีใบประกอบวิชาชีพ ( Licence ) เป็นหลักฐาน..!!!
จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 36 ฉบับที่ 3,193 วันที่ 18 – 21 กันยายน พ.ศ. 2559
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
1,962
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
124
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
3K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
3K
เตรียมอุดมฯ ปรับวิธีคัดเด็กโควตาปี 60
5K
Dek รุ่นไหนก็มาร่วมงานนี้ได้ ! วางแผนเตรียมตัว สู่รั้วมหาวิทยาลัย (รับจำนวนจำกัด)
5K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
สาขาแนะนำ ตามคำเรียกร้อง
น่าเรียน มีที่ไหน เน้นอะไร มาดูกัน!!
จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?
พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
ยื่นพอร์ตปุ๊ป สัมภาษณ์ปั๊บ
สมัครออนไลน์ได้เลย!!!
สถาบันไหน ?? จะครองใจ 2024
ร่วมโหวต!เลย..
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
×
Close