เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
การสัมภาษณ์งานหรือรับเข้าเรียนบางแห่งมักทำการสืบประวัติจาก Digital footprint !!
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
10 ก.ย. 59 16:33 น.
10 ก.ย. 59 16:33 น.
อ่านแล้ว
744
จำนวน
แชร์
พี่จ๋า AdmissionPremium
โอลิเวอร์ อายุ18ปี เด็กหนุ่มหน้าตาดี การเรียนอยู่ในระดับท้อปของโรงเรียน โอลิเวอร์มีความใฝ่ฝันจะเป็นทนายความ เขาจึงเลือกสมัครในคณะนิติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งเมื่อจบมัธยมปลาย
ทุกอย่างไม่มีที่ติ จดหมายแนะนำตัวจากบุคคลที่น่าเชื่อถือ ผลการเรียนดีเยี่ยม เรียงความที่เขียนไปอย่างตั้งใจ
แต่สุดท้าย ในวันสอบสัมภาษณ์ อาจารย์ที่มาสอบ ได้แจ้งกับโอลิเวอร์ว่า "เราจะไม่รับเธอเข้าเรียน” โอลิเวอร์ไม่เข้าใจและตกใจ เมื่อถามหาเหตุผล ก็เพียงแต่ได้รับคำตอบสั้นๆว่า “เธอไม่เหมาะที่จะเรียนคณะของเรา”
สุดท้ายโอลิเวอร์ก็รู้ว่า ที่เขาถูกปฏิเสธ เนื่องจากอาจารย์ไปสืบประวัติของเขาในอินเทอร์เน็ต แค่พิมพ์ชื่อเขาใน Google เกือบทุกอย่างที่เขาเคยไปโพสต์และคอมเม้นต์ในเว็บไซต์หรือ เฟซบุ๊ก สามารถเรียกมาอ่านได้ อาจารย์จึงเห็นว่าเมื่อหลายปีก่อน โอลิเวอร์เคยโพสต์รูปโปรไฟล์ในเฟซบุ๊ค โดยแสดงสัญลักษณ์การเคารพแบบนาซีเยอรมัน
อาจารย์พูดทำนองว่า “มันไม่เหมาะสมด้วยประการทั้งปวง แม้ว่าเขาจะทำไปเพราะความเป็นเด็ก” “อีกหน่อยถ้าเขาต้องเป็นผู้พิพากษา มันคงไม่เหมาะอย่างยิ่งที่คนเห็นเขาทำท่าแบบนี้”
โอลิเวอร์เสียใจมาก เพราะรูปเพียงรูปเดียวที่เปลี่ยนอนาคตของเขา
“What goes online stay online” หมายความว่าอะไรก็ตามที่เราส่งเข้าในโลกออนไลน์แล้ว มันก็จะอยู่อย่างนั้นไม่หายไปไหน
เปรียบเหมือนรอยเท้าที่เราเดินไปเรื่อยๆแล้วทิ้งเอาไว้ และที่สำคัญมันไม่ใช่รอยเท้าธรรมดาๆบนดินหรือทราย ไม่ได้ลบได้ง่ายๆ แต่เป็นรอยเท้าที่มีศัพท์เฉพาะที่เรียกว่า Digital footprint
เมื่อผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต หรือ social media เข้าไปใช้งานในโปรแกรมเป้าหมาย เช่น เฟซบุ๊ค ก็จะมีบันทึกไว้ว่า เราเคยเข้าไปใช้งาน โพสต์ คอมเมนต์ ฯลฯ
ซึ่งบันทึกและหลักฐานเหล่านี้จะมีผลเสมือนเป็นประวัติของคนผู้นั้น โดยเฉพาะเมื่อเด็กโตเป็นผู้ใหญ่
เด็กๆที่ไม่ได้คิดหน้าคิดหลังในเรื่องความเป็นส่วนตัว มีการโพสต์ข้อความหรือรูปที่ไม่เหมาะสม ทำให้มีผลกระทบ เหมือนเป็นประวัติที่ไม่สามารถจะลบเลือนได้
ปัจจุบัน การสัมภาษณ์งาน หรือ รับเข้าเรียน หลายแห่ง มักทำการสืบประวัติจาก Digital footprint นี้
พ่อแม่ควรแนะนำลูกๆให้ดี เตรียมตัวตั้งแต่ก่อนที่ลูกจะมีอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคส์ต่างๆใช้ ด้วยความเป็นเด็ก บางทีก็ไม่ได้คิดให้ดีก่อนที่ส่ง หรือ โพสต์อะไรลงไป ทำไปด้วยความคึกคะนอง สนุกสนาน และรู้เท่าไม่ถึงการณ์
แม้ว่าโซเชียลมีเดียที่นำมาซึ่งความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร ชีวิตประจำวันที่ง่ายขึ้น แต่ก็อาจนำมาซึ่งผลกระทบที่รุนแรงจนคิดไม่ถึง โดยเฉพาะกับเด็กๆและวัยรุ่น ซึ่งเป็นกลุ่มหลักที่ใช้สื่อโซเชียลมีเดีย
(เรื่องของโอลิเวอร์เป็นเรื่องที่หมอดัดแปลงมาจากเรื่องจริงที่เกิดขึ้น โอลิเวอร์ไม่ได้มีตัวตนจริงๆ เพื่อมิให้กระทบกระเทือนบุคคลที่สามค่ะ) #หมอมินบานเย็น
ขอขอบคุณข้อมูลจาก
คุณหมอมินบานเย็น
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
744
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
“เจาะลึก TPAT1 กสพท68 ! ข้อควรระวังในแต่ละพาร์ทที่ช่วยให้ DEK68 สอบผ่านอย่างมั่นใจ”
1K
ภาคปกติหรือพิเศษ? ค่าเทอม คณะนิติศาสตร์ จาก 12 มหาลัยดัง
1K
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
3K
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
6K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
5K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?
พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!
สาขาแนะนำ ตามคำเรียกร้อง
น่าเรียน มีที่ไหน เน้นอะไร มาดูกัน!!
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง
ชวนน้อง ม.ปลาย เรียน ป.ตรี ล่วงหน้า Pre-degree รับสมัครวันนี้ - 17 พ.ย. 2567
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
สถาบันไหน ?? จะครองใจ 2024
ร่วมโหวต!เลย..
×
Close