เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
3 วิธีอ่านหนังสือสอบ จำแม่น ร่างไม่พัง สุขภาพเป็นบวก
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
08 ก.ย. 59 14:41 น.
08 ก.ย. 59 14:41 น.
อ่านแล้ว
20,513
จำนวน
แชร์
P'Biw AdmissionPremium
เป็นยังไงกันบ้างคะ Dek60 ช่วงนี้น้องๆคงมุ่งมั่นกับการเตรียมตัวอ่านหนังสือสอบ หวังว่าน้องๆคงเก็บเนื้อหาไปมากกว่า 50 เปอร์เซ็นแล้ว ถ้ายังไม่ถึง เดินหน้าเร่งเครื่องเต็มอัตราได้แล้วนะคะ ว่าแต่.... ใครเป็นบ้างใครช่วงเวลาอ่านหนังสือจะอ้วนขึ้นแบบฉุดไม่อยู่ เพราะอ่านหนังสือดึก น้ำหวานวางไม่ใกล้ไม่ไกลทางซ้ายมือ ขนมคบเคี้ยว ที่เป็นเพื่อนคู่ใจ ก็วางอยู่ด้านขวามือหยิบเข้าปากช่างง่ายนัก นอกจากจะน้ำหนักขึ้นตามระเบียบ ประเด็นสำคัญคือ การที่น้องๆอ่านหนังสือจนอดหลับอดนอน เพื่อให้สอบได้ตามคะแนนที่คาดไว้ น้องๆทราบหรือไม่ว่า การอ่านหนังสือในช่วงเวลากลางคืน มีผลกระทบต่อสุขภาพมาก ทั้งยังมีผลต่อประสิทธิภาพในการอ่านหนังสือ น้องๆอยากทราบถึงวิธีการอ่านหนังสือที่ถูกต้อง และไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพหรือไม่ วันนี้พี่มีเทคนิคการอ่านหนังสือที่ถูกต้องมาแนะนำ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลยจ้า
พญ.ธิดากานต์
ให้ความรู้ว่า ร่างกายมนุษย์จะมีระบบจัดการตนเอง หรือที่เรียกว่า
นาฬิกาชีวภาพ (Biological clock) ที่มีการกำหนดระยะเวลาทำงานของร่างกาย เช่น เมื่อถึงเวลา 21-22 นาฬิกา(3-4 ทุ่ม) ซึ่งเป็นเวลาการหลั่งฮอร์โมนต่างๆ ที่ช่วยซ่อมแซมร่างกาย อาทิ โกรทออร์โมน (Growth Hormone) ที่มีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเติบโต ช่วยเพิ่มความสูง และควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ตื่นเช้ามาก็จะรู้สึกสดชื่นแต่การนอนดึกจะไปทำลายจังหวะการหลั่งฮอร์โมน ทำให้การเจริญเติบโตชะลอตัวลง และการซ่อมแซมผิวพรรณก็จะแย่ลงด้วย ฉะนั้นการนอนดึก หรือนอนไม่พอย่อมมีผลกระทบต่อร่างกาย นอกจากนี้ยังทำให้มีการหลั่งฮอร์โมนความเครียดเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้แก่เร็วขึ้น มีผมหงอก รู้สึกอยากกินของหวาน และมีไขมันสะสมมากโดยเฉพาะที่พุง ซึ่งจะก่อให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดโรคอีกด้วยอ่านอย่างไร ให้ได้ผลดีในช่วงสอบ
“ในช่วงของการสอบอาจมีนักเรียน นักศึกษา ที่จำเป็นต้องอ่านหนังสือในเวลากลางคืน (หมอไม่แนะนำให้นอนดึก) และมักหิวในช่วงดึก เพราะเกิดจากการหลั่งฮอร์โมนความเครียด ซึ่งควรกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เช่น นมถั่วเหลืองรสจืด หรือ ถั่วลิสง อัลมอล วอลนัท พิตาชิโอ รสธรรมชาติ แบบอบ ไม่ทอด และไม่มีเกลือผสม แทนขนมขบเคี้ยวจำพวกมันฝรั่งทอดกรอบ เพราะจะได้รับโปรตีน และไขมันที่ดี หรือเพิ่มความสดชื่นด้วยผลไม้รสเปรี้ยว ก็ได้” แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ แนะนำ
พญ.ธิดากานต์
แนะนำว่า
หากจำเป็นต้องอ่านหนังสือในช่วงกลางคืน อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป หรือขนมขบเคี้ยว ซึ่งจะทำให้ง่วงได้ง่าย
เพราะมีแป้งเป็นส่วนประกอบหลัก ร่างกายสามารถดูดซึมได้เร็วมาก ทำให้น้ำตาลในเลือดสูงขึ้นเร็ว ส่งผลให้เกิดอาการอ่อนเพลีย และง่วงนอน รวมทั้งเครื่องดื่มชูกำลัง เพราะจะทำให้ได้รับคาเฟอีนมากเกินไป ซึ่งจะกระตุ้นให้หัวใจเต้นเร็ว หรือบางคนที่มีปัญหาเกี่ยวกับหัวใจอาจก่อให้เกิดภาวะหัวใจวายได้ และอาจมีผลต่อการนอนหลับ ซึ่งจะทำให้พักผ่อนไม่พียงพอเมื่อถึงเวลานอน และส่งผลกระทบต่อวันถัดไปเป็นวัฎจักรที่แย่ไปเรื่อยๆ นอกจากจะไม่ได้ประโยชน์แล้วยังทำให้เสียสุขภาพอีกด้วย
พญ.ธิดากานต์ ยังเผย 3 เทคนิคการอ่านหนังสือให้ได้ผล ด้วยคือ
1.ต้องอ่านเมื่อร่างกายพร้อม
ไม่ฝืนตนเอง ไม่อ่านขณะง่วง เพราะจะทำให้อ่านไม่รู้เรื่อง
2.สภาพแวดล้อมต้องพร้อม
ไม่มีสิ่งรบกวนให้เสียสมาธิ เช่น ปิดโทรศัพท์มือถือ ปิดโทรทัศน์ เพราะหากทำหลายอย่างพร้อมกันจะทำให้ประสิทธิภาพของการจดจำเนื้อหาลดลง
3.ขณะอ่านควรคำนึงถึงเนื้อหาที่ครูเน้น
เกิดการตั้งคำถามกับตนเองว่าอยากรู้เรื่องอะไร แล้วจึงอ่านเพื่อหาคำตอบนั้นๆ เพราะการอ่านเพื่อหาคำตอบจะทำให้สนุกและไม่น่าเบื่อ และเมื่อหาคำตอบได้แล้ว ควรเล่าให้ตนเองฟังซ้ำอีกรอบเพื่อทำความเข้าใจ เพราะการเล่าหรือการเขียนทบทวนเนื้อหาด้วยตนเอง จะสามารถทำให้จำได้นานขึ้น และหากมีเวลาควรทำข้อสอบเก่าซ้ำ ซึ่งจะช่วยอุดช่องโหว่ในด้านที่เรายังไม่รู้ได้ด้วย
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ บอกเสริมด้วยว่า ปัจจุบันข้อมูลด้านสุขภาพมีมาก แต่มีทั้งข้อมูลที่เชื่อถือได้ และเชื่อถือไม่ได้ หรือข้อมูลเชิงพาณิชย์ ซึ่งจำเป็นมากที่จะต้องมีหน่วยงานที่มีข้อมูลผ่านการคัดกรอง เขียนโดยผู้เชี่ยวชาญ และยังมีการส่งต่อโดยผู้เชี่ยวชาญ เช่น บทความที่หมอเขียนเผยแพร่ในเว็บไซต์ของเครือข่ายคนไทยไร้พุง จะมีการตรวจสอบโดยแพทย์ท่านอื่น เพื่อให้มั่นใจว่าบทความเหล่านี้เป็นบทความที่ถูกต้อง และต้องเป็นบทความที่ไม่ใช่เชิงพาณิชย์ใดๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีมากหากข้อมูลที่ดีถูกส่งต่อ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อคนอื่นๆ ต่อไป
ขอบคุณที่มา :
thaihealth
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
20,513
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
124
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
3K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
3K
เตรียมอุดมฯ ปรับวิธีคัดเด็กโควตาปี 60
5K
Dek รุ่นไหนก็มาร่วมงานนี้ได้ ! วางแผนเตรียมตัว สู่รั้วมหาวิทยาลัย (รับจำนวนจำกัด)
5K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
ยื่นพอร์ตปุ๊ป สัมภาษณ์ปั๊บ
สมัครออนไลน์ได้เลย!!!
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
สถาบันไหน ?? จะครองใจ 2024
ร่วมโหวต!เลย..
×
Close