เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
ชี้เด็กสนใจเรียนวิทย์น้อยลง ทวท. เล็งเปลี่ยนค่านิยมสังคมสนใจอาชีพนักวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
07 ก.ย. 59 15:10 น.
07 ก.ย. 59 15:10 น.
อ่านแล้ว
906
จำนวน
แชร์
P'Biw AdmissionPremium
ทวท. ประกาศร่วมเดินหน้าไทยแลนด์ 4.0 ผลิตกำลังคนทางวิทยาศาสตร์ ให้ตรงความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ชี้เด็กสนใจเรียนวิทย์น้อยลง เล็งสร้างความตระหนักสังคมไทยเปลี่ยนค่านิยมสนใจอาชีพนักวิทยาศาสตร์
วันนี้( 7ก.ย.)ศ.ดร.สุภา หารหนองบัว คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (มก.)ในฐานะประธานที่ประชุมคณบดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย (ทวท.) เปิดเผยว่า เมื่อเร็ว ๆนี้ ทวท. ได้มีมติเห็นชอบที่จะผนึกกำลังสร้างความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม ให้สอดคล้องกับนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล โดยจะจัดโครงการพัฒนาความร่วมมือด้านวิจัยและพัฒนากับภากเอกชนทั้งในระดับ StartUp, SME, และอุตสาหกรรม เพื่อมาพัฒนาโครงการปฏิรูปภาคการผลิตและการบริการด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมี รศ.ปกรณ์ เสริมสุข คณบดีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) เป็นประธานโครงการ นอกจากนี้ที่ประชุมยังเห็นชอบให้มีการบูรณาการการเรียนการสอน การเชื่อมโยงหลักสูตรกับภาคอุตสาหกรรมเพื่อผลิตกำลังคนทางวิทยาศาสตร์ให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตให้มากขึ้น เน้น Outcome-based curriculum มีการหารือที่จะนำหลักสูตร Work Integrated Learning (WIL) มาปรับใช้กับคณะวิทยาศาสตร์ โดยมอบหมายให้ผศ.ดร.วรนุช เกิดสินธ์ชัย คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี(มจธ.) เป็นประธาน
ศ.ดร.สุภา กล่าวต่อไปว่า ที่ประชุมยังหารือเกี่ยวกับจำนวนนักศึกษาที่เลือกเรียนสายวิทยาศาสตร์ซึ่งมีจำนวนลดลง ดังนั้นจำเป็นจะต้องทำให้สังคมเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเปลี่ยนค่านิยมในการเลือกประกอบอาชีพเป็นนักวิทยาศาสตร์ โดย ทวท.เห็นควรให้มีการผลักดันให้มีการเปลี่ยนแปลง เพื่อสนับสนุนให้อาชีพนักวิทยาศาสตร์เป็นอาชีพที่มีความสำคัญและก้าวหน้าในการร่วมพัฒนาประเทศ เช่นเดียวกับประเทศที่พัฒนาแล้ว ที่ให้ความสำคัญแก่อาชีพนักวิทยาศาสตร์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทยในอนาคต
“ที่ประชุม ทวท. เห็นชอบคณะวิทยาศาสตร์ มก.เป็นเจ้าภาพร่วมกับสมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ฯ โดยจะมีการจัดการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 (วทท. 42) ในหัวข้อ “ศาสตร์แห่งแผ่นดิน สู่นวัตกรรม เพื่ออนาคตที่ยั่งยืน” “Knowledge of the Land towards Innovation for Sustainable Future” ระหว่างวันที่ 30 พ.ย. – 2 ธ.ค.2559 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลลาดพร้าว"ศ.ดร.สุภากล่าว
โดยถ้าเทียบจากข้อมูลเมื่อเดือนกรกฏาคมที่ผ่านมา
อาชีพที่ดูว่ายังขาดแคลนในอนาคต และยังขาดมาโดยตลอด คงหนีไม่พ้นอาชีพทางด้านวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะ 10 อาชีพดังนี้
1. วิศวกรชีวการแพทย์ : ทำหน้าที่อออกแบบ สร้างหรือพัฒนาซอฟต์แวร์ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือทางการแพทย์ที่ได้มาตรฐาน สามารถใช้งานได้จริง รวมถึงการศึกษาค้นคว้าเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่มีความซับซ้อน และต้องการขั้นตอนการผลิตที่มีมาตรฐาน และ ประสิทธิภาพสูง
2. นักออกแบบผลิตภัณฑ์ : ทำหน้าที่ออกแบบผลิตภัณฑ์โดยอาจใช้กราฟฟิคคอมพิวเตอร์ สร้างแบบจำลองและทดลองทำผลิตภัณฑ์ต้นแบบเขียนเทคนิควิธีการประกอบแบบระบบพิกัดพร้อมทั้งขั้นตอนในการปฏิบัติในโรงงาน ประมาณการต้นทุนค่าใช้จ่าย เพื่อให้มีราคาย่อมเยาสำหรับผู้ใช้
3. นักธรณีวิทยาปิโตรเลียม : ทำหน้าที่
สำรวจหาและช่วยพัฒนาแหล่งกักเก็บปิโตรเลียม การสำรวจหาปิโตรเลียม
4. นักวิทยาศาสตร์ด้านอาหาร : ทำหน้าที่
วิเคราะห์ วิจัยการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและกายภาพที่เกิดขึ้นกับอาหารและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ อันได้แก่ อาหารและเครื่องดื่มต่างๆ ปรับปรุงกระบวนการผลิต และแปรรูปอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่มีประโยชน์ต่อผู้บริโภค
5. นักออกแบบและสร้างภาพเคลื่อนไหว : ทำหน้าที่วาดตัวละครหรือจินตนาการลงบนภาพวาดบนแผ่นฟิล์มหรือสร้างสรรค์จินตนาโดย ใช้เทคนิคทางคอมพิวเตอร์ให้สัมพันธ์กับตำแหน่งเพื่อสร้างสรรค์เป็นภาพ เคลื่อนไหว
6. นักวิทยาศาสตร์ด้านเครื่องสำอาง : ค้นคว้า วิจัย พัฒนา เครื่องสำอาง ครีม แชมพู สบู่และอื่นๆ
7. นักพัฒนาซอฟต์แวร์ :
ออกแบบ การวางแผนพัฒนา ซึ่งขอบเขตงานจะกว้างกว่าการเขียนโปรแกรม
8. นักนิติวิทยาศาสตร๋ : ทำหน้าที่นำเอาวิชาความรู้ในทางด้านวิทยาศาสตร์ ในการเก็บและพิสูจน์หลักฐาน ตรวจร่างกายและวัตถุพยานเพื่อช่วยในการค้นหาความจริง
9. นักปรับปรุงพันธ์พืช : ทำหน้าที่ปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์พืชจนได้พันธุ์ใหม่โดยต่อเนื่อง และได้ขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัติ นักปรับปรุงพันธุ์พืช จะต้องสายพันธุ์พืชชนิดใหม่ที่ดีกว่าเดิม
10. นักคิดค้นหรือนักเคมีปรุงยา : ทำหน้าที่ผลิตยาและเภสัชภัณฑ์ต่างๆ ตรวจสอบมาตรฐานของวัตถุดิบ ควบคุมคุณภาพยาระหว่างการผลิต ยารอบรรจุ และยาสำเร็จรูป ตรวจสอบและควบคุมระบบโรงงานยาและเครื่องสำอางในฝ่ายต่างๆตามมาตรฐานสากล เช่น GMP และ PICS และตรวจสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์ สารปนเปื้อนและสารพิษในผลิตภัณฑ์ต่างๆที่จำหน่ายในท้องตลาด เช่น ยา เครื่องสำอาง อาหาร เครื่องดื่ม และตรวจสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์ สารปนเปื้อนและสารพิษในผลิตภัณฑ์ต่างๆที่จำหน่ายในท้องตลาด
โดยเราจะเห็นว่า 10 สาขาอาชีพ นั้นล้วนสอดคล้องเทรนด์งานในอนาคตอีกด้วย คือเทรนด์สุขภาพ , เทรนด์ผู้สูงวัยยุคใหม่, เทรนด์ดิจิตอล , เทรนด์อาเซียน ดังนั้นเราควรจะเลือกเรียนสาขาที่สอดคล้องกับเทรนด์งานในอนาคตด้วย เพื่อให้ได้งานทำที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน การเจริญเติบโตก้าวหน้า รายได้ที่ดี ต่อไป....
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม
น้องๆ สามารถดูข้อมูลรายละเอียดอาชีพต่างๆ เพิ่มเติมได้ที่นี่
Admission Planning
ขอบคุณที่มา :
เดลินิวส์
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
906
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
เรียนหมอเอกชน ต้องใช้เงินเท่าไหร่? เปิดค่าเทอม แพทย์ เภสัช ทันตะ สัตวะ ม.เอกชน เช็กเลย!
122
เปิดโผ ที่สุดของปี!! การจัดอันดับ 10 มหาวิทยาลัยไทย ปี 2567 โดย Webometrics ม.ไหนครองแชมป์?
3K
ฐานเงินเดือนเริ่มต้น สำหรับสายงาน IT อ้างอิงจาก Adecco Salary Guide FY2016
3K
เตรียมอุดมฯ ปรับวิธีคัดเด็กโควตาปี 60
5K
Dek รุ่นไหนก็มาร่วมงานนี้ได้ ! วางแผนเตรียมตัว สู่รั้วมหาวิทยาลัย (รับจำนวนจำกัด)
5K
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
สถาบันไหน ?? จะครองใจ 2024
ร่วมโหวต!เลย..
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
สาขาแนะนำ ตามคำเรียกร้อง
น่าเรียน มีที่ไหน เน้นอะไร มาดูกัน!!
จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?
พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
ยื่นพอร์ตปุ๊ป สัมภาษณ์ปั๊บ
สมัครออนไลน์ได้เลย!!!
×
Close