เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
รีวิวสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ตอบโจทย์ยุค Green Growth
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
29 ก.ย. 63 15:34 น.
29 ก.ย. 63 15:34 น.
อ่านแล้ว
44,738
จำนวน
แชร์
P'นุ๊ค AdmissionPremium
รีวิวอีกหนึ่งสาขาที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานเพื่อสามารถในการใช้เทคโนโลยีมาควบคุม ออกแบบ และแก้ไขปัญหามลภาวะมลพิษ
ที่เกิดขึ้นทั้งในโรงงานและระดับชาติ ดังนั้น
การจัดการด้านนี้จึงมีบทบาทและเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ในยุครักษ์โลกเลยทีเดียว ดังนั้นมาดูกันค่ะว่าสาขานี้เรียนเกี่ยวกับอะไรและเรียนจบแล้วสามารถทำงานอะไรได้บ้าง?
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม การผสมผสานระหว่างหลักการทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์เข้าด้วยกัน เพื่อนำมาใช้ประโยชน์
ด้านการบริหารจัดการ ควบคุมดูแลตลอดจนออกแบบการบำบัดและกำจัดมลพิษทางสิ่งแวดล้อม
ไม่ว่าจะเป็น น้ำ อากาศ ดิน ของเสีย และกากสารอันตรายที่ล้วนเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ทั้งสิ้น
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม จึงเป็นอีกหนึ่งสาขาวิชาที่น่าสนใจของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
เรียนจบแล้วทำงานอะไร?
1. งานราชการ และรัฐวิสาหกิจ เช่น เป็นวิศวกรในกองควบคุมโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม
กองอนามัยสิ่งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม การประปานครหลวง
การเคหะแห่งชาติ การนิคมอุตสาหกรรม กรมควบคุมมลพิษ
กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(ตำแหน่งทั่วไปเช่น ก) วิศวกรสิ่งแวดล้อม ข) นักวิชาการสิ่งแวดล้อม ค) เจ้าหน้าที่สิ่งแวดล้อม
2. งานบริษัทเอกชนมีบริษัทวิศวกรที่ปรึกษา บริษัทก่อสร้างที่มีกิจการเกี่ยวกับงานวิศวกรรมสุขาภิบาล และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
อยู่โรงงานใหญ่ๆ ดูแลระบบน้ำเสีย บริษัทพลังงานต่างๆ ก๊าซชีวภาพ น้ำมันทำงานบริษัทออกแบบงานระบบของอาคารสูง
และอาคารต่างๆ สามารถทำงานกับบริษัทที่ต้องเกี่ยวข้องกับระบบนิเวทหรือสิ่งแวดล้อมนั้นเอง
เป็นที่ปรึกษากฎหมายสิ่งแวดล้อมบริหาร และจัดการสิ่งแวดล้อม
3. ทำงานส่วนตัวโดยทำงานในลักษณะวิศวกรที่ปรึกษาออกแบบ หรือจัดตั้งบริษัท จำหน่าย และผลิตอุปกรณ์ และเครื่องมือต่างๆ
ที่ใช้ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ออกแบบ ก่อสร้าง ติดตั้ง จำหน่ายอุปกรณ์ระบบบำบัดน้ำเสีย
4. อาจารย์ด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม นักวิจัยหรือถ่ายทอดเทคโนโลยี
5. อาชีพอิสระ เช่น ผู้รับเหมาก่อสร้าง ผู้ดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย งานก่อสร้างท่อในอาคาร
ทำงานตามโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ในตำแหน่งผู้จัดการสิ่งแวดล้อม ผู้ควบคุมระบบมลพิษน้ำ ผู้ควบคุมระบบมลพิษอากาศ
6. ผู้ควบคุมระบบกำจัดมลพิษกากอุตสาหกรรม ผู้ปฏิบัติงานประจำระบบป้องกันมลพิษน้ำ
7. ผู้ปฏิบัติงานประจำระบบป้องกันมลพิษอากาศ
ผู้ปฏิบัติงานประจำระบบป้องกันมลพิษกากอุตสาหกรรม หรือทำงานในบริษัทที่ปรึกษาทางสิ่งแวดล้อมที่ให้บริการดังกล่าว
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
หลักสูตร 4 ปี ภาคปกติ
จำนวนหน่วยกิตที่ต้องเก็บตลอดหลักสูตร คือ 142 หน่วยกิต
เน้นสร้างความรู้และความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่ เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะมลพิษที่เกิดขึ้น ตลอดจนสามารถวางแผนจัดการสิ่งแวดล้อมทั้งในระดับโรงงาน และระดับชาติได้ โดยวิชาเฉพาะของสาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มีดังนี้
การออกแบบทางวิศวกรรมประปา
การออกแบบทางวิศวกรรมน้ำเสีย
วิศวกรรมขยะมูลฝอย
มลพิษทางอากาศและการควบคุม
การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
การออกแบบท่อสุขาภิบาลภายในอาคาร
การจัดการขยะอันตราย
กฏหมายสิ่งแวดล้อม
โครงงานวิศวกรรม 1
โครงงานวิศวกรรม 2
ทำไมต้องเรียนวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม?
เนื่องจากกระแส Green Growth ยุคสมัยที่ผู้คนคำนึงถึงความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เนื่องด้วยจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น และการเติบโตของภาคธุรกิจและสังคม ส่งผลให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลงอย่างต่อเนื่อง ก่อตัวเป็นปัญหาใหญ่ระดับโลกที่กระทบต่อสิ่งมีชีวิตรวมทั้งตัวมนุษย์เองด้วย ผลกระทบที่เกิดขึ้นนี่เอง ทำให้ผู้คนเริ่มตระหนักรู้ และสร้างแรงขับเคลื่อนให้คนหันมาเก็บกวาดสิ่งที่ตนเองสร้างอย่างเป็นระบบ เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม วิศวกรสิ่งแวดล้อมซึ่งมีความรู้และความสามารถในการจัดการด้านนี้ จึงมีบทบาทและเป็นกลไกสำคัญที่จะทำให้เกิดการพัฒนาสีเขียว ด้วยเหตุนี้ สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่ SAU แหล่งผลิตวิศวกรสิ่งแวดล้อมสู่ตลาดแรงงาน จึงเป็นอีกสาขาวิชาน่าเรียนที่ตอบโจทย์ยุครักษ์โลก
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมและสมัครเรียนได้ที่ :
www.sau.ac.th/
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
44,738
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
16 โครงการจัดเต็ม! มจธ.เปิดรับโควตา TCAS68 รอบ 2 TCAS68 เริ่ม 14 ก.พ. 68
38
ม.ธรรมศาสตร์ จัดให้!! เปิดรับ 8 โครงการ รอบ 2 โควตา TCAS68
368
2,967 ที่นั่ง ม.ศิลปากร รอบ 2 Quota TCAS68 151 สาขาวิชา เริ่มสมัคร 17 ก.พ. 68
408
3,071 ที่นั่ง 9 โครงการ !! ม.พะเยา เปิดรับสมัคร TCAS68 รอบที่ 2 โควตา เริ่มสมัคร 11 ก.พ. 68
202
โครงการคัดเลือกโดยใช้ TGAT/TPAT มจพ. รับสมัครเข้าศึกษา ผ่าน #TCAS68 รอบที่ 2 #โควตา เริ่มสมัครตั้งแต่วันนี้ – 10 มี.ค.68
640
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
สถาบันไหน ?? จะครองใจ 2024
ร่วมโหวต!เลย..
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
สาขาแนะนำ ตามคำเรียกร้อง
น่าเรียน มีที่ไหน เน้นอะไร มาดูกัน!!
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
จะดีแค่ไหน! ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าสอบติดไหม?
พร้อมรู้แนวข้อสอบ #TCAS66 ก่อนสอบจริง คลิกเลย!
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
×
Close