เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
สทศ.แจงข้อสอบโอเน็ตยังไม่ผิดพลาด
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
10 ก.พ. 59 18:12 น.
10 ก.พ. 59 18:12 น.
อ่านแล้ว
724
จำนวน
แชร์
“ธีระเกียรติ”แจงข้อสอบโอเน็ตบนสังคมออนไลน์เป็นของหลายปีรวมกัน ยอมรับข้อสอบ สทศ.ยาก จี้ปรับปรุงการสอบทั้งระบบ ชี้การเขียนมาตรฐานหลักสูตรที่กว้างมาก ส่งผลให้การออกข้อสอบไม่ชัดเจน สั่ง สทศ.เปิดสเปคข้อสอบให้เด็กรู้ล่วงหน้า ขณะที่ “สัมพันธ์” ย้ำข้อสอบโอเน็ตยังไม่มีผิดพลาด
วันนี้ (10 ก.พ.) ที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รมช.ศึกษาธิการ พร้อมด้วย รศ.ดร.สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ( สทศ.) แถลงข่าวชี้แจงกรณีที่มีการเผยแพร่ข้อสอบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน หรือโอเน็ต ทางสังคมออนไลน์ โดย นพ.ธีระเกียรติ กล่าวว่า ข้อสอบที่เผยแพร่นั้น เป็นข้อสอบโอเน็ตของหลายๆ ปีรวมกัน ไม่ใช่ข้อสอบโอเน็ตที่ใช้สอบในปีการศึกษา2558 ทั้งหมด มีเพียงข้อสอบวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ที่ถามเกี่ยวกับกฎหมายไทยข้อเดียวเท่านั้นที่เป็นข้อสอบโอเน็ตปีนี้ แต่อย่างไรก็ตามต้องยอมรับว่าในภาพรวมข้อสอบของ สทศ. ค่อนข้างยาก โดยเฉพาะเมื่อดูผลสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ที่เพิ่งประกาศผลไปล่าสุด พบว่าแต่ละวิชาเด็กได้คะแนนต่ำมาก เฉลี่ยอยู่ที่ 20-30 คะแนนเท่านั้น มีเพียงวิชาภาษาไทยที่ได้คะแนนเกินครึ่งวิชาเดียว ซึ่งการออกมาชี้แจงครั้งนี้ คงไม่ได้มาแก้ตัวอะไร แต่จะต้องมีการปรับปรุงทั้งระบบ ตั้งแต่ต้นน้ำคือการกำหนดมาตรฐานหลักสูตร กลางน้ำ การจัดการเรียนการสอน และปลายน้ำคือการวัดประเมินผล
“การที่คะแนนเฉลี่ยเด็กไทยตกต่ำนั้น ไม่ใช่เพิ่งเกิดขึ้นในรัฐบาลชุดนี้ แต่เป็นปัญหาเรื้อรังที่สะสมมานาน ซึ่งผลคะแนนที่ออกมาไม่ต่างอะไรกับการเดา ดังนั้นทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องร่วมกันวิเคราะห์ว่าเกิดความผิดพลาดจากจุดใด และจากการวิเคราะห์ในเบื้องต้นพบว่า ปัญหาส่วนหนึ่งอยู่ที่การเขียนมาตรฐานหลักสูตรที่มีขอบเขตกว้างขวาง ไม่มีรายละเอียดชัดเจน ส่งผลต่อการออกข้อสอบที่บางครั้งคำถามไม่ชัดเจน ดังนั้นหลังจากนี้ผู้รับผิดชอบการเขียนหลักสูตรต้องไปปรับปรุง และการสอบทุกชนิด จะต้องมีการเปิดเผยสเปค และรายละเอียดของข้อสอบทั้งหมดว่าจะสอบเรื่องอะไร แบบไหน อย่างไร พร้อมยกตัวอย่างข้อสอบ ให้เด็กได้ทราบล่วงหน้า ไม่ใช่ให้เด็กต้องมาเซอร์ไพรส์ในวันสอบ ขณะเดียวกัน สทศ.ต้องประเมินความยากง่ายของข้อสอบก่อนสอบ ไม่ใช่ประเมินหลังสอบ” นพ.ธีระเกียรติ กล่าวและว่า ตนได้มอบให้สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ซึ่งมีหน้าที่ในการประเมินผลการศึกษาของประเทศ เชิญนักวิชาการ ตลอดจนสถาบันทดสอบที่มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ เช่น สิงคโปร์ อังกฤษ มาประเมินการทดสอบของ สทศ. เพื่อพัฒนาการทดสอบต่างๆ ให้มีมาตรฐานและเป็นที่ยอมรับต่อไป ทั้งนี้ตนหวังว่า เมื่อมีการปรับระบบการออกข้อสอบแล้ว การออกข้อสอบที่ไม่ชัดเจนต้องไม่เกิดขึ้นอีก หากเกิดขึ้นจะต้องมีคนรับผิดชอบ
ด้าน รศ.ดร.สัมพันธ์ กล่าวว่า เท่าที่ตรวจสอบในเบื้องต้นข้อสอบโอเน็ตชั้น ม.6 ที่จัดสอบ เมื่อวันที่ 6-7 ก.พ.2559 ยังไม่มีข้อใดผิดพลาด ส่วนข้อสอบวิชาสังคมฯ ที่มีการเผยแพร่ในสังคมออนไลน์ ก็ไม่ตรงกับคำถามจริงในข้อสอบ ซึ่งเด็กอาจจะจำมาไม่ครบ เมื่อนำมาเผยแพร่ก็อาจทำให้มีการตีความผิดพลาดได้ โดยในสังคมออนไลน์ ถามว่า “ข้อใดไม่ใช่กฎหมายไทย” ขณะที่คำถามจริงถามว่า “ข้อใดต่อไปนี้ผู้กระทำไม่ต้องรับผิดตามกฎหมายไทย” ซึ่งคำตอบที่ถูกต้องมีเพียงข้อเดียวคือ ข้อ 5 ที่ตอบว่า “นายเดือนหมิ่นประมาทชาวไทยด้วยกันในขณะท่องเที่ยวที่ประเทศญี่ปุ่น” เพราะถือเป็นความผิดที่เกิดขึ้นในประเทศญี่ปุ่น ต้องใช้กฎหมายในประเทศญี่ปุ่น สำหรับข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ขอชี้แจงว่าเป็นข้อสอบที่ใช้ในการคัดเลือกบุคคลเข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยในระบบรับตรง จึงต้องมีความยากกว่าข้อสอบโอเน็ต และยอมรับว่า ข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชาปีนี้ ยากกว่าปกติ มีอำนาจในการจำแนกต่ำ จึงทำให้คะแนนเฉลี่ยออกมาต่ำ อย่างไรก็ตามหลังจากนี้ สทศ. จะต้องไปพัฒนาข้อสอบ ให้มีความยากที่เหมาะสม ไม่ยากหรือง่ายเกินไป และสามารถคัดเด็กเข้าเรียนมหาวิทยาลัยได้ตรงตามความต้องการของแต่ละคณะ และเด็กสามารถเรียนจบมหาวิทยาลัยได้
ข้อมูลจาก :
เดลินิวส์
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
724
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
16 โครงการจัดเต็ม! มจธ.เปิดรับโควตา TCAS68 รอบ 2 TCAS68 เริ่ม 14 ก.พ. 68
38
ม.ธรรมศาสตร์ จัดให้!! เปิดรับ 8 โครงการ รอบ 2 โควตา TCAS68
367
2,967 ที่นั่ง ม.ศิลปากร รอบ 2 Quota TCAS68 151 สาขาวิชา เริ่มสมัคร 17 ก.พ. 68
408
3,071 ที่นั่ง 9 โครงการ !! ม.พะเยา เปิดรับสมัคร TCAS68 รอบที่ 2 โควตา เริ่มสมัคร 11 ก.พ. 68
202
โครงการคัดเลือกโดยใช้ TGAT/TPAT มจพ. รับสมัครเข้าศึกษา ผ่าน #TCAS68 รอบที่ 2 #โควตา เริ่มสมัครตั้งแต่วันนี้ – 10 มี.ค.68
640
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
สถาบันไหน ?? จะครองใจ 2024
ร่วมโหวต!เลย..
สาขาแนะนำ ตามคำเรียกร้อง
น่าเรียน มีที่ไหน เน้นอะไร มาดูกัน!!
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
นับถอยหลัง ม.5 !! สอบติดหมอ ไม่ยาก
ติวเข้มข้น ครบทุกวิชา ที่ใช้ในการสอบติด แพทย์ กสพท
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
×
Close