เมนู
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
หน้าแรก
สอบเข้า
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
สำหรับคุณครู
กลับเมนูหลัก
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
กลับเมนูหลัก
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
กลับเมนูหลัก
เรียนต่อต่างประเทศ
เรียนอินเตอร์
เรียนไอที
เรียนการบิน
เรียนบัญชี
เรียนนิเทศฯ
เรียนธุรกิจดิจิทัล
เรียนกีฬา
เรียนเป็นผู้ประกอบการ
เรียนการโรงแรม และการท่องเที่ยว
เรียนภาษาเพื่อธุรกิจ
โลจิสติกส์
เรือสำราญ
ดิจิทัลมีเดีย
สถาปัตยกรรมศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
กลับเมนูหลัก
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
กลับเมนูหลัก
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ระเบียนนักเรียน
แบบประเมิน SDQ
แบบทดสอบ EQ
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
กลับเมนูหลัก
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
กลับเมนูหลัก
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
หน้าแรก
สอบเข้า
หลักสูตรแนะนำ
ข่าว TCAS
ข่าวมหาวิทยาลัย
SchoolOntour
เล่าเรื่องรุ่นพี่ที่ 1
รับตรงที่ไม่อยู่ใน TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย Camp
วางแผนอนาคต Admission Planning
สำรวจอาชีพ Career Explore
สร้างพอร์ต Admission Portfolio
ถามตอบ AdmissionQ
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ม.ปลายติวฟรี
PRETCAS
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 65
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 64
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 63
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 62
คลังข้อสอบ PreTCAS ปี 61
BoostUP
รีวิวมหาวิทยาลัย
โปรแกรม U-Review
วีดีโอ U-Review
บทความ U-Review
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
รวมค่าเทอม ม. ทั่วประเทศ U-life
จัดอันดับมหาวิทยาลัย
คณะแนะนำ
เรียนต่อ ป.โท
รีวิวหลักสูตร ป.โท
ข่าวบทความ ป.โท
แนะนำหลักสูตร U-Infographic
สำหรับคุณครู
GIS ระบบงานแนะแนว 4.0
AdmissionPlanning สำหรับคุณครู
รายงาน Portfolio สำหรับคุณครู
สไลด์แนะแนวอาชีพ
ข้อมูลคณะสาขา
ข้อมูลอาชีพ
เทคนิคและสื่อการสอน
คอร์สฟรี
เรียนออนไลน์ U-Course
สมาชิก Gold
สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ข่าว TCAS
ค้นหาเปิดรับ TCAS/รับตรง
แคมป์/ค่าย
บทความ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
โปรแกรมวางแผนอนาคต
โปรแกรมสร้างพอร์ตโฟลิโอ
โปรแกรมแอดมิชชัน
Previous
Next
Previous
Next
5 อาชีพคณะนิเทศฯ ที่เหมาะกับคนชอบเข้าสังคม
แจ้งลบ
บันทึกเก็บไว้ใน List
วันที่เวลาโพส
25 ม.ค. 60 11:09 น.
25 ม.ค. 60 11:09 น.
อ่านแล้ว
2,667
จำนวน
แชร์
วันนี้เราจะมาแนะนำอาชีพด้านคณะนิเทศฯสำหรับคนที่ชอบพบปะผู้คน รักการเข้าสังคม ชอบสนทนา มีทักษะทางด้านภาษา และมีความมั่นใจสูงหรือชอบเข้าสังคมนั้นเอง โดยเราจะยกตัวอย่าง 5 อาชีพสำหรับคนที่ชอบเข้าสังคม ไปดูกันว่ามีอาชีพอะไรบ้างและมีอาชีพที่น้องๆอยากทำอยู่บ้างหรือ
ป่าว
1. นักแสดง (ACTOR)
นี่คืองานในฝันที่แท้จริงของคนที่มีลักษณะที่มีความมั่นใจสูง ชอบเข้าสังคม และไม่เขินอายที่จะอยู่ต่อหน้าผู้คนเยอะๆ เมื่ออยู่ภายใต้สปอร์ตไลท์และได้รับความสนใจมากเพียงใดก็จะยิ่งทำให้คุณพึงพอใจมากขึ้นเท่านั้น ความสำเร็จที่ได้มาจากอาชีพทางด้านการแสดงจะนำมาซึ่งชื่อเสียงเงินทอง และโอกาสจากสังคมอีกมากมาย เพียงแค่คุณเป็นคนกล้าแสดงออก รักในการแสดง และถ้ายิ่งมีรูปร่างหน้าตาที่ดี รับรองว่ามีโอกาสในการทำงานด้านนี้ค่อนข้างสูง เป็นอาชีพที่จะต้องฝึกฝนและพัฒนาทักษะทางด้านการแสดงของตัวคุณเองอยู่เสมอ หลักสูตรที่เกี่ยวข้องก็จะเป็นพวกสาขาศิลปะการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ หรือจะเป็นคณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาเอกการละคร นอกจากนั้นยังมีโรงเรียนสอนการแสดง ฝึกอบรมหลักสูตรสำหรับเตรียมตัวเป็นนักแสดงโดยเฉพาะ
ให้เลือกมากมายหลายสถาบันด้วยกัน
2. วารสารศาสตร์ (
JOURNALISM)
อีกหนึ่งอาชีพที่ต้องอาศัยการปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์เป็นจำนวนมาก ถ้าคุณมีลักษณะนิสัยที่ชอบพูดคุยซักถาม สนุกสนานในการได้สัมภาษณ์เรื่องราวของผู้คนแล้วหละก็ งานวารสารศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งหลักสูตรวิชาชีพที่เหมาะกับคุณอย่างที่สุด ไม่ว่าจะเป็นนักข่าวหนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรืองานวารสารอื่นๆ เป็นต้น ทักษะที่ใช้ในงานส่วนใหญ่ก็จะเป็นเรื่องของการพูดคุย จะต้องเป็นคนที่คุยเก่ง ชอบถามซักไซ้ไล่เลียง อยากรู้อยากเห็น ช่างสังเกต ไม่กลัวที่จะต้องพูดคุยกับผู้คนแปลกหน้า และที่สำคัญจะต้องมี ทักษะด้านการเขียน ที่ค่อนข้างดีอีกด้วย เพราะงานวารสารศาสตร์จะต้องใช้ทักษะทางด้านภาษาในการเขียนงานให้มีเสน่ห์น่าติดตาม วิชาที่จะต้องเลือกเรียนได้แก่ สาขาสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ หรือวารสารศาสตร์ เป็นต้น บางมหาวิทยาลัยอาจอยู่ในคณะมนุษย์ศาสตร์ ดังนั้นให้เน้นไปที่สาขาสื่อสารมวลชนเป็นอันใช้ได้
3. ประชาสัมพันธ์ (PUBLIC RELATIONS)
ผู้ที่ปฏิบัติงานในด้านการประชาสัมพันธ์เราจะเรียกว่า “เจ้าหน้าประชาสัมพันธ์ (Public Relations Officer) หรือที่มักนิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า “PR” คนที่เหมาะกับการเป็นนักประชาสัมพันธ์จะต้องเป็นผู้สื่อสารที่ดี ชอบพูดคุย รักการเข้าสังคม ชอบพบปะกับผู้คนมากมาย ที่สำคัญคือ จะต้องเป็นผู้ที่มีใจรักงานบริการอย่างแท้จริง เพราะอาชีพนี้มักเป็นฝ่ายที่ต้องรับหน้าลูกค้าและสื่อมวลชนเสมอ ดังนั้นหากใครไม่มีใจรักและความอดทนจริงๆ ก็ไม่อาจทำงานนี้ได้อย่างแน่นอน ส่วนคณะและสาขาวิชาที่จะต้องเลือกเรียนส่วนใหญ่ก็จะอยู่ที่ คณะนิเทศศาสตร์ สาขาประชาสัมพันธ์ เริ่มฝึกปฏิบัติการพูดต่อที่สาธารณชน การเป็นพิธีกร เป็นผู้ดำเนินรายการวิทยุ (ดีเจ) หรือ ฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมเพื่อการประชาสัมพันธ์ เช่น จัดสัมมนาเพื่อการประชาสัมพันธ์ สัมมนาสื่อมวลชน จัดนิทรรศการเพื่อการประชาสัมพันธ์ รวมทั้ง ฝึกด้านบุคลิกภาพให้ดี และมีความมั่นใจมากขึ้นนั่นเอง
4. ผู้บริหารงานลูกค้า (
Account Executive)
หน้าที่หลักของตำแหน่งนี้จะเป็นการหาลูกค้า และติดต่อประสานงานระหว่างลูกค้าและฝ่ายผลิต AE จะเป็นตัวกลางระหว่างลูกค้าและทีมงานโดย AE จะต้องเข้าไปติดต่อกับหน่วยงานหรือองค์กรที่กำลังต้องการนำเสนอผลงานหรือโฆษณา โดยจะเข้าไปเจรจากับผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจและสามารถอนุมัติงานชิ้นนั้นได้ และยังต้องเป็นตัวกลางแก้ไขข้อขัดแย้งระหว่างลูกค้าและทีมฝ่ายผลิตในองค์กรเพื่อให้เกิดความพอใจสูงสุดของทั้งสองฝ่าย ซึ่งในแต่ละบริษัท หน้าที่อาจจะแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย แต่หลักๆแล้วคือการเป็นสื่อกลางระหว่างลูกค้าและฝ่ายผลิต
5. ผู้สื่อข่าว (
Reporter)
ผู้สื่อข่าวหรือนักข่าวที่สังกัดอยู่กับสื่อมวลชนใดก็ตามต้องปฏิบัติหน้าที่หลักอย่างเดียวกัน คือ เสาะแสวงหาข่าว เจาะข่าว และทำข่าวด้วยวิธีการสัมภาษณ์ สอบถาม เข้าร่วมฟังในที่ประชุมแถลงข่าว การสัมมนา ติดตามเหตุการณ์ คดีต่างๆ หรือปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายให้ทำข่าว หรือสารคดี เฉพาะเรื่อง จดบันทึกข้อเท็จจริงจากการสังเกต การสัมภาษณ์ การสอบถาม การถ่ายภาพ การบันทึกเทปเสียง เทปโทรทัศน์ วิดีโอเทป เขียนข่าวตามรูปแบบของการเสนอข่าวที่ถูกต้องชัดเจน โปร่งใส และมี รายละเอียดตามความเหมาะสมสำหรับเรื่องหรือเหตุการณ์ที่เป็นข่าว ส่งข่าวให้กับกองบรรณาธิการ เพื่อพิจารณาก่อนเผยแพร่โดยการออกอากาศหรือลงพิมพ์ ในสิ่งพิมพ์ตามวัตถุประสงค์ ของการเสนอข่าวแก่ สาธารณชน
…………………………………..
ที่มา
[1] http://www.manager.co.th/Campus/ViewNews.aspx?NewsID=9580000008968
[2] http://www.งานวันนี้.com/
[3] http://www.smartsme.tv/content/17514
[4] https://pixabay.com/
5 อาชีพคณะนิเทศฯ
นิเทศฯ
คนชอบเข้าสังคม
จำนวน
แชร์
อ่านแล้ว
2,667
ตั้งกระทู้ใหม่
แจ้งลบ
คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ
วิชาที่น่าเรียนแห่งอนาคต
707
"ฉลาดเกมส์โกง" ผลงานจากผู้กำกับที่ไม่เคยเรียนทำหนัง "บาส-นัฐวุฒิ พูนพิริยะ"
1K
เตรียมทักษะ 5 ประการที่จำเป็นสำหรับการทำงานในอนาคต
3K
ซื้อคอนเทนต์นอกกันมาเท่าไหร่? ถึงเวลาคอนเทนต์ไทย “โกอินเตอร์” บ้างสิ!!
425
GAME ON!! เปิดแล้ว "YouTube TV" สื่อใหญ่เตรียมตัวไว้นะ
36
ถาม-ตอบ
ติดตามแฟนเพจ
ติดตาม TWITTER
สถาบันไหน ?? จะครองใจ 2024
ร่วมโหวต!เลย..
ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์
บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่
สาขาแนะนำ ตามคำเรียกร้อง
น่าเรียน มีที่ไหน เน้นอะไร มาดูกัน!!
TNI เปิดรับสมัคร
พร้อมชิงทุนสูงสุด 100%
ติวสอบติดหมอ ครบทั้ง 3 พาร์ท
พาร์ทเชาว์ พาร์ทจริยธรรม พาร์ทเชื่อมโยง โดยอันดับ1 กสพท ของประเทศ
TCASPortfolio ต้อนรับปี 2024
ใช้งานฟรี! ไปเลย...
×
Close