ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การบัญชี) สาขาบัญชี
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
เมื่อกล่าวถึง “ผู้ทำบัญชี” ก็ต้องกล่าวถึง “ผู้สอบบัญชี” ซึ่งเป็นวิชาชีพอิสระอีกอาชีพหนึ่ง ที่ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ดังกฏที่ว่า งบการเงินของกิจการหนึ่ง ๆ ผู้ทำบัญชี และผู้ตรวจสอบบัญชีต้องมิใช่คนเดียวกัน หรือเรียกว่า คนทำไม่ตรวจ คนตรวจก็ไม่ทำบัญชี คล้ายกับอาชีพหมอ ที่ว่า แพทย์เป็นผู้ตรวจแล้วสั่งยา แต่ไม่หยิบยาเอง ส่วนเภสัชกรมีหน้าที่หยิบยา แต่ไม่มีหน้าที่สั่งยาให้คนไข้ หรือยกอีกตัวอย่างหนึ่ง คืออาชีพวิศวกร กับสถาปัตยกรรม ทั้งสองอาชีพทำหน้าที่คู่ขนานกัน
สำหรับนักบัญชี อย่างน้อย ๆ จะต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ 1 ใบ เพื่อขึ้นทะเบียนเป็น ผู้ทำบัญชี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA) ผู้สอบภาษีอากร (Tax Auditor)
หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตให้เป็นผู้บริหารทางด้านบัญชี นักวิชาการด้านบัญชี และนักวิจัย
สำหรับนักบัญชี อย่างน้อย ๆ จะต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ 1 ใบ เพื่อขึ้นทะเบียนเป็น ผู้ทำบัญชี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA) ผู้สอบภาษีอากร (Tax Auditor)
หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตให้เป็นผู้บริหารทางด้านบัญชี นักวิชาการด้านบัญชี และนักวิจัย
U-Review Score by AdmissionPremium.com
อัตราส่วนอาจารย์ต่อผู้เรียน
9.0
ความพร้อมของห้องปฎิบัติการและอุปกรณ์การเรียน
9.0
สภาพแวดล้อมของสถานที่เรียน
8.5
ผลงานของสาขา
(ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า)
(ของนักศึกษาอาจารย์และศิษย์เก่า)
9.0
ความร่วมมือกับองค์กรภายนอก
8.5
โอกาสหางานง่าย
8.5
ความคุ้มค่าในการเรียน
(ค่าเล่าเรียนต่อโอกาสงานในอนาคต)
(ค่าเล่าเรียนต่อโอกาสงานในอนาคต)
8.5
วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ AdmissionPremium.com
ชื่อคณะ
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การบัญชี) (Accounting)
ชื่อสาขา
บัญชี (Accountancy)
ชื่อปริญญา
ปร.ด. (การบัญชี) (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การบัญชี))
รายละเอียด
เมื่อกล่าวถึง “ผู้ทำบัญชี” ก็ต้องกล่าวถึง “ผู้สอบบัญชี” ซึ่งเป็นวิชาชีพอิสระอีกอาชีพหนึ่ง ที่ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ดังกฏที่ว่า งบการเงินของกิจการหนึ่ง ๆ ผู้ทำบัญชี และผู้ตรวจสอบบัญชีต้องมิใช่คนเดียวกัน หรือเรียกว่า คนทำไม่ตรวจ คนตรวจก็ไม่ทำบัญชี คล้ายกับอาชีพหมอ ที่ว่า แพทย์เป็นผู้ตรวจแล้วสั่งยา แต่ไม่หยิบยาเอง ส่วนเภสัชกรมีหน้าที่หยิบยา แต่ไม่มีหน้าที่สั่งยาให้คนไข้ หรือยกอีกตัวอย่างหนึ่ง คืออาชีพวิศวกร กับสถาปัตยกรรม ทั้งสองอาชีพทำหน้าที่คู่ขนานกัน
หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตให้เป็นผู้บริหารทางด้านบัญชี นักวิชาการด้านบัญชี และนักวิจัย
หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตให้เป็นผู้บริหารทางด้านบัญชี นักวิชาการด้านบัญชี และนักวิจัย
เนื้อหาวิชา
เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพสูงและก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ โดยจะต้องทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
คุณสมบัติ
1.ผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโทบัญชีหรือเทียบเท่า
เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทบัญชีหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาทั้งภายในหรือต่างประเทศที่ได้รับการรับรองวิทยฐานะแล้ว และเป็นผู้มีผลการเรียนคะแนนเฉลี่ยสะสม ในระดับปริญญาโทไม่น้อยกว่า 3.25 หรือเป็นผู้ที่มีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาการบัญชีอย่างน้อย 5 ปี
ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ โดยผู้เข้าศึกษาอาจจะต้องศึกษาวิชาปรับพื้นฐานทางการบัญชีเพิ่มเติม
2.ผู้สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันจากสถาบันการศึกษาทั้งภายในหรือต่างประเทศที่ได้รับการรับรองวิทยฐานะแล้ว และเป็นผู้มีผลการเรียนคะแนนเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาโทไม่น้อยกว่า 3.25 และเป็นผู้ที่มีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาการบัญชีอย่างน้อย 5 ปี
ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ โดยผู้เข้าศึกษาอาจจะต้องศึกษาวิชาปรับพื้นฐานทางการบัญชีเพิ่มเติม
สิ่งใหม่ จุดเด่น จุดแตกต่าง
หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตให้เป็นผู้บริหารทางด้านบัญชี นักวิชาการด้านบัญชี และนักวิจัยที่มีคุณลักษณะ ดังนี้
1. มีความเป็นผู้นำ ที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และมีประสบการณ์ในการนำความรู้ด้านบัญชีไปประยุกต์ใช้ในการทำงานอย่างมืออาชีพ
2. มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และมีทักษะในการแสวงหาความรู้ในเชิงลึกในระดับประเทศและนานาชาติ โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องมือช่วยบริหารจัดการบัญชีให้เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงสุด
3. มีวิสัยทัศน์กว้างไกลในการบริหารบัญชีให้สอดคล้องกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
4. มีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพบัญชี และสามารถใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการด้านบัญชีจนทำให้องค์กรมีผลดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย
5. มีความรู้และทักษะในการทำวิจัยในหัวข้อเกี่ยวกับการบัญชี การสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือนวัตกรรมทางด้านการบัญชี ตลอดจนสามารถนำผลการวิจัยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์กรและหน่วยงานที่รับผิดชอบได้
4. อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. มีความเป็นผู้นำ ที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และมีประสบการณ์ในการนำความรู้ด้านบัญชีไปประยุกต์ใช้ในการทำงานอย่างมืออาชีพ
2. มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และมีทักษะในการแสวงหาความรู้ในเชิงลึกในระดับประเทศและนานาชาติ โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องมือช่วยบริหารจัดการบัญชีให้เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงสุด
3. มีวิสัยทัศน์กว้างไกลในการบริหารบัญชีให้สอดคล้องกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
4. มีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพบัญชี และสามารถใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการด้านบัญชีจนทำให้องค์กรมีผลดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย
5. มีความรู้และทักษะในการทำวิจัยในหัวข้อเกี่ยวกับการบัญชี การสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือนวัตกรรมทางด้านการบัญชี ตลอดจนสามารถนำผลการวิจัยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์กรและหน่วยงานที่รับผิดชอบได้
4. อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
ค่าเทอม
ตลอดหลักสูตร 176,000 บาท
จำนวนปี
3 ปี
อาชีพ
1. ผู้บริหารระดับสูงขององค์กร
2. ผู้ประกอบกิจการตนเอง อาทิ เป็นเจ้าของสำนักงานบัญชี
3. ที่ปรึกษา อาทิ ที่ปรึกษาทางด้านการบัญชีและการเงิน ด้านบัญชีบริหาร ด้านการสอบบัญชี ด้านการตรวจสอบภายใน ด้านภาษีอากร และด้านสารสนเทศทางการบัญชี
4. อาจารย์ผู้สอนในสถาบันการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
เส้นทางอาชีพและความก้าวหน้า
“ผู้ทำบัญชี” เป็นวิชาชีพ ที่ปัจจุบันมีการตรากฎหมายออกมาเพื่อคุ้มครองอาชีพนี้โดยเฉพาะ คือ พระราชบัญญัติ การบัญชี พ.ศ.๒๕๔๓ “ผู้ทำบัญชี” ที่มีคุณสมบัติตามกฎหมาย แต่อาจไม่ใช่ “นักบัญชี” หากว่าผู้นั้นยังขาดประสบการณ์ในหน้าที่งานบัญชี และเช่นกัน “นักบัญชี” ผู้มีความสามารถและประสบการณ์ ไม่อาจจะเป็น “ผู้ทำบัญชี” ได้หากว่าขาดคุณสมบัติวุฒิการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด
เมื่อกล่าวถึง “ผู้ทำบัญชี” ก็ต้องกล่าวถึง “ผู้สอบบัญชี” ซึ่งเป็นวิชาชีพอิสระอีกอาชีพหนึ่ง ที่ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ดังกฏที่ว่า งบการเงินของกิจการหนึ่ง ๆ ผู้ทำบัญชี และผู้ตรวจสอบบัญชีต้องมิใช่คนเดียวกัน หรือเรียกว่า คนทำไม่ตรวจ คนตรวจก็ไม่ทำบัญชี คล้ายกับอาชีพหมอ ที่ว่า แพทย์เป็นผู้ตรวจแล้วสั่งยา แต่ไม่หยิบยาเอง ส่วนเภสัชกรมีหน้าที่หยิบยา แต่ไม่มีหน้าที่สั่งยาให้คนไข้ หรือยกอีกตัวอย่างหนึ่ง คืออาชีพวิศวกร กับสถาปัตยกรรม ทั้งสองอาชีพทำหน้าที่คู่ขนานกัน
สำหรับนักบัญชี อย่างน้อย ๆ จะต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ 1 ใบ เพื่อขึ้นทะเบียนเป็น
- ผู้ทำบัญชี
- ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA)
- ผู้สอบภาษีอากร (Tax Auditor)
เมื่อกล่าวถึง “ผู้ทำบัญชี” ก็ต้องกล่าวถึง “ผู้สอบบัญชี” ซึ่งเป็นวิชาชีพอิสระอีกอาชีพหนึ่ง ที่ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ดังกฏที่ว่า งบการเงินของกิจการหนึ่ง ๆ ผู้ทำบัญชี และผู้ตรวจสอบบัญชีต้องมิใช่คนเดียวกัน หรือเรียกว่า คนทำไม่ตรวจ คนตรวจก็ไม่ทำบัญชี คล้ายกับอาชีพหมอ ที่ว่า แพทย์เป็นผู้ตรวจแล้วสั่งยา แต่ไม่หยิบยาเอง ส่วนเภสัชกรมีหน้าที่หยิบยา แต่ไม่มีหน้าที่สั่งยาให้คนไข้ หรือยกอีกตัวอย่างหนึ่ง คืออาชีพวิศวกร กับสถาปัตยกรรม ทั้งสองอาชีพทำหน้าที่คู่ขนานกัน
สำหรับนักบัญชี อย่างน้อย ๆ จะต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ 1 ใบ เพื่อขึ้นทะเบียนเป็น
- ผู้ทำบัญชี
- ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA)
- ผู้สอบภาษีอากร (Tax Auditor)
เทรนด์อาชีพในอนาคตตรงกับ
อาเซียน
โอกาสงานในอาเซียน
เป็นหนึ่งในอาชีพเสรีในอาเซียน
ความยากในการเรียน
8.5